ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระดูกเรเดียส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: io:Radiuso
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 25:
* '''[[ส่วนหัวกระดูกเรเดียส]]''' มีลักษณะเป็นทรงกระบอกตรง พื้นผิวด้านบนจะเว้าลงเล็กน้อยเพื่อรับกับส่วน[[แคปปิทูลัม]] (capitulum) ของ[[กระดูกต้นแขน]] (humerus) และทางด้านที่ติดกับกระดูกอัลนา จะมีรอยเล็กๆซึ่งเป็นรอยของ[[ข้อต่อเรดิโออัลนาส่วนต้น]] (proximal radioulnar joint) ทั้งกระดูกอัลนาและส่วนหัวของกระดูกเรเดียสจะมีเอ็นที่พันรอบกระดูกทั้งสองอยู่ ซึ่งเรียกว่า ''เอ็นแอนูลาร์'' (annular tendon) ทั้งโครงสร้างของข้อต่อเราดิโออัลนาส่วนต้นและเอ็นแอนูลาร์จะช่วยในการพลิกหงาย (supination) ของปลายแขน
* '''ส่วนคอกระดูก''' เป็นส่วนที่ต่อลงมาจากส่วนหัว และมีรอยเล็กๆที่เป็นจุดเกาะปลายของ[[กล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์]] (Supinator muscle) ซึ่งเกี่ยวข้อโดยตรงกับการพลิกหงายของปลายแขน
* '''[[ปุ่มนูนเรเดียส]]''' (Radial tuberosity) เป็นปุ่มนูนที่อยู่ในส่วนของคอกระดูกด้านที่ติดกับกระดูกอัลนา ปุ่มนูนนี้เป็นจุดเกาะปลายของ[[กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอเบรกิไอ]] (Bicep braschii muscle)
 
=== ส่วนกลางกระดูก ===
{{บทความหลัก|ส่วนกลางของกระดูกเรเดียส}}
[[ส่วนกลางของกระดูกเรเดียส]] จะมีลักษณะคล้ายปริซึมสามเหลี่ยมที่โค้งออกไปทางด้านข้างเล็กน้อย ซึ่งสามารถคลำแนวโค้งนี้ได้โดยเฉพาะที่ใกล้กับส่วนปลายของกระดูก ขอบและพื้นผิวด้านต่างๆของส่วนกลางกระดูกที่สำคัญและเป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อของปลายแขนและมือ ได้แก่
* '''ขอบด้านหน้า (Anterior/volar border) ''' เริ่มจากทางด้านล่างของปุ่มนูนเรเดียส จนไปสิ้นสุดที่สไตลอยด์ โพรเซส ซึ่งอยู่ทางปลายกระดูก ขอบด้านนี้จะเป็นจุดเกาะต้นของกล้ามเนื้อปลายแขนสองมัด คือ [[กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ ดิจิทอรุม ซุเปอร์ฟิเชียลิส]] (Flexor digitalis superficialis) และ[[กล้ามเนื้อเฟลกเซอร์ พอลิซิส ลองกัส]] (Flexor pollicis longus) ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการเคลื่อนไหวของมือ ส่วนทางด้านล่างของขอบนี้จะเป็นจุดเกาะปลายของ[[กล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ ควอดราตัส]] (Pronator quadratus muscle) และ[[กล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิสเบรกิโอเรเดียลิส]] (Brachioradialis muscle)
* '''ขอบด้านเยื่อระหว่างกระดูก (interosseuous border) ''' เริ่มจากทางด้านหลังของปุ่มนูนเรเดียส แล้วไล่ลงมาทางด้านปลายกระดูก ไปบรรจบที่''รอยเว้าอัลนา'' (ulnar notch) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ[[ข้อต่อเรดิโออัลนาส่วนปลาย]] (distal radioulnar joint) ครึ่งล่างของแนวนี้จะเป็นจุดเกาะของเอ็นเยื่อระหว่างกระดูก ทำให้เป็นการเชื่อมต่อของกระดูกรูปแบบหนึ่ง ที่เรียกว่า[[ข้อต่อแบบซินเดสโมเซส]] (syndesmoses joint) ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้อย่างจำกัด
* '''พื้นผิวด้านข้าง (Lateral surface) ''' มีลักษณะโค้งนูนออกมาเล็กน้อย ส่วนบนประมาณหนึ่งในสามของพื้นผิวกระดูกด้านนี้จะเป็นจุดเกาะปลายของ[[กล้ามเนื้อสุพิเนเตอร์]] (supinator muscle) ขณะที่ส่วนกลางจะมีแนวสันที่เป็นจุดเกาะปลายของ[[กล้ามเนื้อโปรเนเตอร์ เทเรส]] (Pronator teres muscle)
บรรทัด 45:
** ร่องกลาง มีลักษณะแคบแต่ลึก และมีเอ็นของ[[กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส ลองกัส]] (Extensor pollicis longus) วางอยู่
** ร่องด้านข้าง มีลักษณะกว้าง และเป็นทางผ่านของเอ็นจาก[[กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ อินดิซิส]] (Extensor indicis) และ[[กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ ดิจิทอรุม]] (Extensor digitorum)
* พื้นผิวทางด้านข้าง จะมีส่วนยื่นของกระดูก ซึ่งเรียกว่า ''[[สไตลอยด์ โพรเซส]]'' (Styliod process) ซึ่งเป็นจุดเกาะปลายของเอ็นจาก[[กล้ามเนื้อเบรคิโอเรเดียลิสเบรกิโอเรเดียลิส]] นอกจากนี้ยังมีร่องของเอ็นจาก[[กล้ามเนื้อแอบดักเตอร์ พอลิซิส ลองกัส]] และ[[กล้ามเนื้อเอกซ์เทนเซอร์ พอลิซิส เบรวิส]] อีกด้วย
 
== รูปประกอบเพิ่มเติม ==