ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: es:Tercera ley de la termodinámica
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''กฎข้อที่สามของ[[อุณหพลศาสตร์]]''' กล่าวถึง[[เอนโทรปี]]และความเป็นไปได้ของสภาวะ[[ศูนย์องศาสัมบูรณ์]] ความว่า ''เมื่อระบบเข้าสู่ภาวะศูนย์องศาสัมบูรณ์ กระบวนการทั้งหมดจะหยุดนิ่ง และค่าเอนโทรปีของระบบจะมีค่าต่ำที่สุด'' (As a system approaches absolute zero, all processes cease and the entropy of the system approaches a minimum value.)
 
:: ''เมื่อระบบเข้าสู่ภาวะศูนย์องศาสัมบูรณ์ กระบวนการทั้งหมดจะหยุดนิ่ง และค่าเอนโทรปีของระบบจะมีค่าต่ำที่สุด''
 
:: ''( As a system approaches absolute zero, all processes cease and the entropy of the system approaches a minimum value. )''
 
ซึ่งอาจสรุปได้ง่ายๆ ว่า 'ถ้า T=0 K, แล้ว S=0' เมื่อ T คือ อุณหภูมิของระบบปิด และ S คือค่าเอนโทรปีของระบบ
เส้น 10 ⟶ 6:
กฎข้อที่สามนี้พัฒนาขึ้นโดย [[วอลเตอร์ แนรนสต์]] (Walther Nernst) นัก[[ฟิสิกส์]]ชาว[[เยอรมัน]] ในช่วงปี ค.ศ. 1906-1912 บางครั้งจึงเรียกกฎข้อนี้ว่า ทฤษฎีของเนิร์นสต์ เขากล่าวว่าค่าเอนโทรปีของระบบที่ศูนย์องศาสัมบูรณ์จะเป็นค่าคงที่ เนื่องจากระบบที่ศูนย์องศาสัมบูรณ์เป็นระบบที่ ground state ค่าเอนโทรปีของระบบจึงมาจาก ground state เท่านั้น นัยหนึ่งคือ "ไม่มีกระบวนการใดที่สามารถลดพลังงานของระบบลงจนถึงศูนย์องศาสัมบูรณ์ได้"
 
ยังมีกฎข้อที่สามของอุณหพลศาสตร์อีกแบบหนึ่งที่บัญญัติโดย [[กิลเบิร์ต เอ็น. ลิวอิส]] และ [[เมอร์ล รันดัล]] ในปี ค.ศ. 1923 ความว่า ''If the entropy of each element in some (perfect) crystalline state be taken as zero at the absolute zero of temperature, every substance has a finite positive entropy; but at the absolute zero of temperature the entropy may become zero, and does so become in the case of perfect crystalline substances.''
 
:: ''( If the entropy of each element in some (perfect) crystalline state be taken as zero at the absolute zero of temperature, every substance has a finite positive entropy; but at the absolute zero of temperature the entropy may become zero, and does so become in the case of perfect crystalline substances. )''
 
ซึ่งอธิบายว่า เมื่อ T = 0 K ไม่เพียง ΔS จะมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ แต่ค่า S เองก็มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ด้วย