ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลิงเสน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Taxobox | name = ลิงเสน | status = VU | trend = unknown | status_system = iucn3.1 | status_ref = | image = Macaca arctoides.png | image_caption = ฝูง...
 
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 19:
| binomial_authority = ([[Isidore Geoffroy Saint-Hilaire|I. Geoffroy]], [[ค.ศ. 1831|1831]])
| synonyms =
* ''brunneus'' (Anderson, [[ค.ศ. 1871|1871]])
* ''harmandi'' (Trouessart, [[ค.ศ. 1897|1897]])
* ''melanotus'' (Ogilby, [[ค.ศ. 1839|1839]])
* ''melli'' (Matschie, [[ค.ศ. 1912|1912]])
* ''rufescens'' (Anderson, [[ค.ศ. 1872|1872]])
* ''speciosus'' (Murie, [[ค.ศ. 1875|1875]])
* ''ursinus'' (Gervais, [[ค.ศ. 1854|1854]])
}}
'''ลิงเสน''' หรือ '''ลิงหมี''' ({{lang-en|Stump-tailed Macaque}}, Bear Macaque) เป็น[[ลิง]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง ที่สามารถพบได้ใน[[ประเทศไทย]] มี[[ชื่อวิทยาศาสตร์]]ว่า ''Macaca arctoides'' จัดอยู่ใน[[วงศ์ลิงโลกเก่า]]
 
== ลักษณะ ==
ลำตัวยาว หลังสั้น [[ขนสัตว์|ขน]]ยาว[[สีน้ำตาล]] หน้ากลม หางสั้น ลูกลิงมีขน[[สีขาว]] และเปลี่ยนเป็นสีเข้มเมื่อมีอายุมากขึ้น ใบหน้าเป็น[[สีชมพู]] หรือ สีแดงเข้ม ถึงน้ำตาล และมีขนเล็กน้อย ลิงเพศผู้มีลำตัวใหญ่กว่าลิงเพศเมีย มีน้ำหนัก 9.7-10.2 [[กิโลกรัม]] ลิงเพศเมีย มีน้ำหนัก 7.5-9.1 กิโลกรัม ลิงเสนเพศผู้มีเขี้ยวยาว และ อาศัยรวมกันเป็นกลุ่ม มีถุงเก็บอาหารใต้คาง หางสั้นมากจนดูเหมือนกับไม่มีหาง ก้นแดง หน้าท้องมีขนน้อย ขนบนหัวจะขึ้นวนเป็นก้นหอย ขนที่แก้มชี้ไปทางหลังและคลุมหูไว้ และยังมี[[กลิ่นตัว]]ที่เหม็น
 
== การกระจายพันธุ์ ==
สามารถพบได้ใน[[ป่า]]ทุกชนิดของ[[เขตร้อน]]และกระจายกันอยู่แถบตะวันออกเฉียงเหนือของ[[อินเดีย]] ทางตะวันออกเฉียงใต้ของ[[จีน]] ทางตะวันตกของ[[มาเลเซีย]] [[แหลมมลายู]] [[พม่า]] ไทย [[เวียดนาม]] และ ทางตะวันออกของ[[บังคลาเทศ]]
 
== นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ==
[[กิน]][[ผลไม้]] [[พืช]][[ผัก]] รวมถึง[[แมลง]]ขนาดเล็ก อาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ มีการปกครองตามลำดับอาวุโส แต่เมื่อเวลากิน[[อาหาร]]มักจะทะเลาะกันเป็นเสียงดัง โดยมักหากินตามพื้นดินมากกว่า[[ต้นไม้]]ในเวลา[[กลางวัน]]
 
เริ่ม[[ผสมพันธุ์]]ได้เมื่อมีอายุ 3-4 [[ปี]] ระยะ[[ตั้งท้อง]]นาน 146 [[วัน]] ออกลูกครั้งละ 1 ตัว และมีอายุยืนกว่า 20 ปี
 
สำหรับในประเทศไทย ลิงเสนเดิมพบได้ทุกภูมิภาค แต่ปัจจุบันมีสถานะในธรรมชาติที่ลดลงเป็นจำนวนมาก จนเหลือเพียงไม่กี่ฝูงเท่านั้น อาทิ [[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง]], [[อุทยานแห่งชาติแก่งกรุง]], [[อุทยานแห่งชาติเขาลำปี-หาดท้ายเหมือง]], [[อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง]] เป็นต้น มีสถานะทาง[[กฏหมายกฎหมาย]]เป็น[[สัตว์ป่าคุ้มครอง]]ตาม[[พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช 2535]]
 
== อ้างอิง ==
* หนังสือสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในประเทศไทยและภูมิภาค[[อินโดจีน]] ([[กรุงเทพมหานคร]] [[พ.ศ. 2543]]) โดย [[กองทุนสัตว์ป่าโลก]] ISBN 974-87081-5-2
 
[[หมวดหมู่:ลิง]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ลิงเสน"