ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
Panitarn (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงโดยผู้เขียน
บรรทัด 1:
'''==<big>ระบบเสียง'''</big> หมายถึง การนำอุปกรณ์เครื่องเสียงต่างๆมาต่อเชื่อมกันให้ทำงานอย่างเป็นระบบ จึงเป็นการรวบรวมอุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงที่มีความสัมพันธ์กันมาจัดให้เกิดความสมดุลย์ในการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด==
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''===<big>ระบบเสียง'''</big> ถือเป็นระบบที่ต้องอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมศาตร์เกี่ยวกับเสียง มาประยุกต์ใช้ในการสร้างระบบเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านเสียงโดยเฉพาะ และ อาจมีการใช้งานร่วมกับระบบภาพและแสง และต้องมีการรวมระบบ เข้าด้วยกันเป็นระบบภาพและเสียง หรือที่ผู้ใช้สื่อเรียกว่า มัลติมีเดีย และบางครั้งอาจรวมระบบควบคุมแสง เข้ามาด้วยโดยเรียกรวมกันว่า AVL===
{{ย้าย|วิกิตำรา}}
'''ระบบเสียง''' หมายถึง การนำอุปกรณ์เครื่องเสียงต่างๆมาต่อเชื่อมกันให้ทำงานอย่างเป็นระบบ จึงเป็นการรวบรวมอุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงที่มีความสัมพันธ์กันมาจัดให้เกิดความสมดุลย์ในการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
 
หากแบ่งตามการขั้นตอนการทำงานเพื่อให้เกิดระบบเสียงขึ้นจะแบ่งได้ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
# การวิเคราะห์ระบบ ผู้มีความรู้เกี่ยวกับระบบเสียงจะต้องสามารถวิเคราะห์์โจทย์ คือความต้องการใช้งานของผุ้ใช้ระบบเสียงนั้น โดยศึกษาปัญหาของสภาพแวดล้อม ตาม ขอบเขตและเงื่อนไขในการกระจายเสียง การติดตั้งอุปกรณ์ แหล่งจ่ายไฟ และการเดินสายไฟ สาย สัญญาณ ต่างๆ ในระบบ และ การเชื่อมโยงจากระบบอื่น
# การออกแบบระบบ ข้อมูลจากการวิเคราะห์ระบบ จะถูกนำมาใช้ออกแบบระบบเสียง และกำหนด สเปคซิฟิเคชั่น หรือเรียกย่อกันว่าสเปคของอุปกรณ์ต่างๆในระบบ เพื่อจัดชุดอุปกรณ์ให้เชื่อมโยงตามสิ่งที่ระบบต้องทำงาน จากความรู้ความเข้าใจของผู้ทำการออกแบบระบบเสียง และอาจจัดทำแผนผังรวมของระบบ เพื่อใช้อธิบายระบบที่ได้ออกแบบไว้ และถ้าเป็นระบบใหญ่ควรมีแผนผังสำหรับการต่อเชื่อมสายสัญญาณต่างๆด้วย
# การติดตั้ง และ ทดสอบระบบ เมื่อทำการติดตั้งอุปกรณ์และต่อเชื่อมสายสัญญาณเสียงตามที่ได้ออกแบบไว้ทั้งหมดแล้ว จะต้องมีการทดสอบการทำงานจริงของระบบ เพื่อปรับแต่ง แก้ไขระบบเสียงให้สมบูรณ์ ตามความต้องการใช้งานระบบเสียง อาจมีการวัดค่าต่างๆตามทฤษฎีเสียง หรือ ใช้การฟัง โดยทดสอบด้วย สัญญาณเสียง หรือต่างๆที่ไกล้เคียงกับการใช้งานมากที่สุด ถ้าเป็นการแสดงอาจเรียงว่า ซาวด์เช็ค
# การส่งมอบระบบและสอนการใช้งาน เมือระบบเสียงสมบูรณ์พร้อมใช้งานแล้วจึงดำเนินการส่งมอบระบบ พร้อมสอนการใช้งานที่ถูกต้องเหมาะสมให้กับผู้ใช้งานระบบเสียงนั้น และ/หรือ จัดทำคู่มือการใช้งาน เพื่อเป็นการทบทวนและอ้างอิงการทำงานของระบบเสียง พร้อมทั้งกำหนดเงื่อนไขการรับประกันอุปกรณ์ต่างๆในระบบ หากเป็นการทำงานระบบเสียงแบบมืออาชีพ
# การซ่อมบำรุงตามระยะการใช้งาน และ การแก้ไขเพิ่มเติมระบบ ควรมีการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน ในการตรวจเช็คอุปกรณ์ต่างๆ เช่น การทำความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้พัดลมระบายความร้อน ตรวจความสมบุรณ์ของจุดเชื่อมต่อสัญญาณ ตรวจความเสื่อมของอุปกรณ์ที่เคลื่อนไหวสั่นสะเทือน เช่นดอกลำโพง ตามเงื่อนไขการรับประกันอุปกรณ์ต่างๆในระบบ โดยนอกจากนี้อาจมีความเสียหายจากการใช้งานผิดประเภท หรืออุบัติเหตุที่อยู่นอกเหนือการรับประกัน ซึ่งต้องทำความเข้าใจกับเจ้าของกิจการและผู้ใช้งานระบบเสียงนั้นเรื่องการตกลงค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม และหากความต้องการในการใช้งานระบบเสียงนั้นเพิ่มขึ้นหรือมีการเปลี่ยนแปลงการใช้งาน จะต้องทำความตกลงในการแก้ไขเพิ่มเติมระบบ โดยอาจแก้ไขเพิ่มเติมอุปกรณ์และการต่อเชื่อมบางส่วนในระบบเดิม หรือทำการปรับปรุงใหม่ทั้งระบบโดยเริ่มต้นจากขั้นตอนที่ 1 ใหม่ทั้งหมด
 
หากแบ่งตามจุดประสงค์การใช้งานด้านเสียงจะแบ่งระบบเสียงตามการใช้งานได้ดังต่อไปนี้
# ระบบกระจายเสียงสาธารณะ หรือทีรู้จักกันดีว่าว่าระบบ PA เป็นงานระบบเสียงที่ต้องกำหนดบริเวณหรือจุดหวังผลที่ต้องการกระจายเสียงและคุณลักษณะของเสียงที่ต้องการกระจาย เพื่อออกแบบระบบและเลือกใช้อุปกรณ์เสียงต่างๆให้ถูกต้องโดยเฉพาะด้านกำลังขยายเสียงที่ต้องใช้ การจัดย่านความถี่เสียง และตำแหน่งของลำโพง ซึ่งอาจจัดขนาดของระบบตามลักษณะของปริมาณเสียงที่ใช้ในระบบ
# ระบบเสียงเพื่อความบันเทิง มีวัตถุประสงค์เพื่อความบันเทิงของกลุ่มบุคคลที่ต้องการฟังเสียงจากระบบนั้น อาจเป็นการประกอบการแสดงต่างๆ การร้องเพลง หรือเต้นรำ และความบันเทิงอื่นๆ จึงต้องจัดระบบให้เหมาะสมตามกิจกรรม และระวังปัญหาเรื่องผู้ที่ไม่ต้องการฟังเสิยงหรือไม่ร่วมกิจกรรมบันเทิงนั้นๆ จึงเน้นความสำคัญเรื่องสถานที่จัดงานบันเทิง เพื่อระบบเสียงที่ดีด้วย
# ระบบเสียงเพื่อการประชุมและการอบรมสัมนา มีการบรรยายและแสดงข้อมูลต่างๆ และซักถามโต้ตอบในการประชุมอภิปรายต่างๆ หรือมีการเรียนการสอนแบบปฏิสัมพันธ์จึงต้องมีการออกแบบเรื่องการสื่อสารสองทาง และกำหนดลักษณะการประชุมเพื่อจัดตำแหน่งและคุณสมบัติของอุปกรณ์ในระบบเสียงต่างๆให้ถุกต้อง ถ้าหากเป็นงานขนาดใหญ่อาจต้องใช้สถานที่แบบศูนย์ประชุม เพื่อความสะดวกในการออกแบบติดตั้งระบบเสียง
# ระบบเสียงเพื่อการสื่อสารข้อมูลและประชาสัมพันธ์ อาจมีระบบคล้ายคลึงกับข้อ 2.1 และ 2.3 ในบางส่วน แต่มีการกำหนดควบคุมจุดรับส่งสัญญาณเสียงเพื่อการสือสาร หรือกำหนดช่องสัญญาณที่ต่างกัน เช่นภาษา หรือข้อมูลเฉพาะส่วน ตามจุดที่ต้องการประชาสัมพันธ์ ในการกระจายเสียงแยกตามเขตพื้นที่ หรือเฉพาะจุดที่ต้องการกระจายเสียง
# ระบบเสียงเคลื่อนที่เอนกประสงค์ อาจใช้งานได้หลากหลายทั่วไป ทั้งงานแบบเฉพาะกิจ งานประชาสัมพันธ์แบบสัญจร หรือเป็นตัวเสริมระบบหลัก ซึ่งระบบนี้อาจมีข้อจำกัดเรื่องกำลังขยาย การจ่ายพลังงาน เนื่องจากไม่ได้ติดตั้งถาวรและมีการเคลื่อนย้ายตลอด จึงต้องใช้อุปกรณ์ทีมีขนาดกระทัดรัด น้ำหนักเบา และมีจุดต่อเชื่อมน้อย
'''โดยแต่ละระบบที่กล่าวมา อาจมีการใช้อุปกรณ์ร่วมกันหรือผสมระบบกันได้ หากมีจุดประสงค์การใช้งานหลากหลายหรือไม่เฉพาะเจาะจง'''
'''ระบบเสียง''' ถือเป็นระบบที่ต้องอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมศาตร์เกี่ยวกับเสียง มาประยุกต์ใช้ในการสร้างระบบเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านเสียงโดยเฉพาะ และ อาจมีการใช้งานร่วมกับระบบภาพและแสง และต้องมีการรวมระบบ เข้าด้วยกันเป็นระบบภาพและเสียง หรือที่ผู้ใช้สื่อเรียกว่า มัลติมีเดีย และบางครั้งอาจรวมระบบควบคุมแสง เข้ามาด้วยโดยเรียกรวมกันว่า AVL