ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พินัยกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: wa:Testamint แก้ไข: uk:Заповіт
Clumsy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พินัยกรรม''' ({{lang-en|will}}) หมายถึง นิติกรรมซึ่งบุคคลแสดงเจตนากําหนดการเผื่อตายในเรื่องทรัพย์สินของตน หรือในการต่าง ๆ อันจะให้เกิดเป็นผลบังคับได้ตามกฎหมายเมื่อตนตายแล้ว
{{เก็บกวาด}}
{{โปร}}
{{มุมมองสากล}}
 
{{โครงกฎหมายแพ่ง}}
'''พินัยกรรม''' ({{lang-en|Will หรือ Testament}}) เป็นการทำรายการเอกสารในการยกมรดกหรือทรัพย์สินให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ให้ใครโดยจะมีอำนาจหลังจากที่ผุ้ทำได้เสียชีวิตไปแล้วและพินัยกรรมนี้จะต้องถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดไว้
== รูปแบบของพินัยกรรม ==
=== พินัยกรรมแบบธรรดา ===
ในการทำเป็นการเขียนตามรูปแบบหรือการพิมพ์ โดยพินัยกรรมที่ทำต้องลงวันที่ เดือน ปี ใน วันที่ทำพินัยกรรม และเจ้าของมรดกต้องเซ็นท้ายพินัยกรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อย 2 คนและพยานต้องลงรายชื่อรับรองลายมือผู้ทำพินัยกรรมนั้นด้วย
<ref>กฎหมายมาตรา 1656</ref>
 
{{โครงกฎหมาย}}[[หมวดหมู่:กฎหมายแพ่งมรดก]]
=== พินัยกรรมแบบเขียนขึ้นเอง ===
เจ้าของมรดกจะต้องเขียนขึ้นด้วยตนเองเท่านั้น จะให้ผู้อื่นเขียนแทนไม่ได้ เขียนเองทั้งฉบับ ต้องระบุวัน เดือน ปี ที่ทำการเขียน และลงลายมือชือตนเองลงไปด้วย<ref>กฎหมายมาตรา 1657</ref>
 
=== แบบเอกสารฝ่ายเมือง ===
ผู้ทำพินัยกรรมต้องแจ้งความประสงค์ด้วยตนเองต่อนายอำเภอ และต้องมีพยานอย่างน้อย 2 คนนายอำเภอจะจดข้อความพินัยกรรมลงไว้ และจะอ่านให้ผู้ทำพินัยกรรมและพยานฟังเมื่อข้อความถูกต้องเรียบร้อย ผู้ทำพินัยกรรมและพยานก็ลงชื่อไว้ จากนั้นนายอำเภอจะลงวันที่ เดือน ปี และลงลายมือชื่อไว้ แล้วเขียนบอกว่าพินัยกรรมที่ทำขึ้นนั้นถูกต้องทั้งหมด แล้วประทับตราตำแหน่งนายอำเภอเป็นอันเรียบร้อย
<ref>กฎหมายมาตรา 1659</ref>
 
 
=== พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ===
การทำพินัยกรรมนี้เป็นการทำพินัยกรรมที่มี[[ข้าราชการ]]ต่อกรมการอำเภอและต้องมีพยานอย่างน้อย 2 คน
[[นายอำเภอ]]จะต้องจดข้อความคำข้อทำพินัยกรรมลงบัญชีบันทึกประจำวันไว้ และจะอ่านให้ผู้ทำพินัยกรรมและพยานฟังเมื่อข้อความถูกต้องเรียบร้อย ข้อความที่[[นายอำเภอ]]จดไว้ให้ลง วันที่ เดือน ปี ใน วันที่ทำพินัยกรรม แล้วเขียนบอกว่าพินัยกรรมที่ทำขึ้นนั้นถูกต้องตามบทอนุมาตรา 1-3 แล้วประทับตราตำแหน่งนายอำเภอเป็นอันเรียบร้อย<ref>กฎหมายมาตรา 1658</ref>หรือทำที่นอกอำเภอก็ได้แต่ต้องมีนายอำเภอตามการร้องขอนั้นในการประทับตราก้ได้เช่นกัน<ref>กฎหมายมาตรา 1659</ref>
 
=== พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ===
ผู้ทำพินัยกรรมต้องเขียนพินัยกรรมด้วยตนเอง หรือให้ผู้อื่นเขียนแทนก็ได้ และต้องลงลายมือชื่อผู้ทำพินัยกรรมไว้ทำการปิดผนึกพินัยกรรมไปแสดงต่อนายอำเภอและพยานอย่างน้อย 2 คน และให้ถ้อยคำต่อบุคคลทั้งหมดเหล่านั้น ว่าเป็นพินัยกรรมตน ถ้าพินัยกรรมนั้นมิได้เป็นผู้เขียนเอง ฝห้แจ้งนามและภูมิลำเนาของผู้เขียนให้ทราบด้วยเมื่อนายอำเภอจดถ้อยคำและวัน เดือน ปี ที่ได้ทำพินัยกรรมไว้บนซอง แล้วก็ประทับตราตำแหน่งและลายมือชื่อบนซอง พร้อมกับผู้ทำพินัยกรรมและพยานด้วย<ref>กฎหมายมาตรา 1660</ref>
 
==== ข้อยกเว้นการทำพินัยกรรมแบบเอกสารลับ ====
ถ้าบุคคลผู้เป็นใบ้และหูหนวกหรือผู้ที่พูดไม่ได้ มีความประสงค์ในการพินัยกรรมให้เขียนด้วยตนเองบนซองพินัยกรรมและให้ผู้อื่นไว่าเป็นพินัยกรรมของตนแทน
<ref>กฎหมายมาตรา 1661</ref>
 
=== พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา ===
ในกรณีที่ตกอยู่ในอันตรายใกล้เสียชีวิตหรือเวลามีโรคระบาด หรือสงคราม ซึ่งกฎหมายอนุญาตให้ทำด้วยวาจาได้ โดยแสดงเจตนาทำพินัยกรรมต่อหน้า พยานอย่างน้อย 2 คน แล้วพยานทั้งสองนั้นจะต้องไปแสดงตนต่อนายอำเภอ แล้วแจ้งขอทำพินัยกรรมแจ้งวันเวลาให้ทราบด้วยสถานที่ทำพินัยกรรมหรือพฤติกรรมพิเศษต่อ นายอำเภอจะจดข้อความนั้นไว้ แล้วพยานทั้ง 2 คนลงลายมือชื่อหรือถ้าลงลายนิ้วมือต้องมีพยานเพิ่มขึ้นอีก 2 คน เพื่อรับรองลายนิ้วมือด้วย<ref>กฎหมายมาตรา 1656</ref>
 
== ความสมบูรณ์ในการทำพินัยกรรม ==
ความสมบูรณ์ในการทำพินัยกรรมทำขึ้นตามมาตราก่อนนั้นย่อมสิ้นไปเมือพ้นกำหนดหนึ่งเดือนนับแต่เวลาผู้ทำพินัยกรรมกลับมาสู้การทำพินัยกรรมแบบอื่นๆที่กไหนดไว้ได้
<ref>กฎหมายมาตรา 1664</ref>
 
 
== ความไม่สมบูรณ์ในการทำพินัยกรรม ==
หากมีการขูดลบ หรือเติมแก้ไขเปลี่ยนลแปลงข้อความใดๆ มีผลทำให้พินัยกรรมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ได้ปฏิบัติอย่างเดียวกับการทำพินัยกรรม หรือไม่ได้มีการเซ็นรับรองการเปลี่ยนแปลงใดๆจะทำให้พินัยกรรมไม่สมบูรณ์เช่นกัน
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
จากประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
 
== ลิงก์อื่นๆ ==
* [http://www.khonthai.com/Vitithai/na.htm ถามตอบพินัยกรรม]
* [http://www.susarn.com/susarnth/th_law/th_pinaikum.html รูปแบบพินัยกรรม]
* [http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1 รูปแบบพินัยกรรม แผนภาพ]
[http://www.elib-online.com/laws/family_legacy1.html การตรวจสอบพินัยกรรม]
 
{{กฎหมายแพ่ง}}
[[หมวดหมู่:นิติศาสตร์]]
{{โครงกฎหมาย}}[[หมวดหมู่:กฎหมายแพ่ง]]
 
[[ar:وصية]]