ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรบที่เมืองรุมเมืองคัง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Infobox Military Conflict | conflict = การรบที่เมืองคัง | partof = | image = | caption = | date = | place ...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
| notes =
}}
เมื่อกษัตริย์พม่า(บุเรงนอง) สวรรคต นันทบุเรง ขึ้นเป็นกษัตริย์แทน ทำให้เจ้าประเทศราชไทยใหญ่กระด้างกระเดื่องเช่น เจ้าฟ้าเมืองคัง พม่าต้องการตีเมืองคัง เพื่อปราบปรามให้เป็นตัวอย่างแก่ประเทศราชอื่น ๆ และเป็นการแผ่ศักดานุภาพ นันทบุเรง ต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ โดยจัดให้เจ้านายรุ่นหนุ่มพม่า และรุ่นหนุ่มของไทยเป็นแม่ทัพ เข้าตีเมืองคนละ ๑ วัน โดยมีเมืองคังเป็นเป้าหมายในการเข้าตี นันทบุเรง มีความมุ่งหมายจะให้ประเทศราชอื่น ๆ เกิดความเลื่อมใสนิยมในพระมหาอุปราชา ซึ่งเป็นราชโอรส จะต้องเป็นรัชทายาทครองแผ่นดินสืบไป และคาดคิดว่าคงจะเข้าตีเมืองคังได้สำเร็จ ขณะนั้น สมเด็จพระนเรศวร อยู่ในประเทศพม่าในฐานะเป็นตัวประกัน.
นันทบุเรง ต้องการให้มีการแข่งขันในการรบ โดยจัดให้เจ้านายรุ่นหนุ่มพม่า และรุ่นหนุ่มของไทยเป็นแม่ทัพ เข้าตีเมืองคนละ ๑ วัน โดยมีเมืองคังเป็นเป้าหมายในการเข้าตี นันทบุเรง มีความมุ่งหมายจะให้ประเทศราชอื่น ๆ เกิดความเลื่อมใสนิยมในพระมหาอุปราชา ซึ่งเป็นราชโอรส จะต้องเป็นรัชทายาทครองแผ่นดินสืบไป และคาดคิดว่าคงจะเข้าตีเมืองคังได้สำเร็จ ขณะนั้น สมเด็จพระนเรศวร อยู่ในประเทศพม่าในฐานะเป็นตัวประกัน.
 
== การต่อสู้ ==
 
* กองทัพพระมหาอุปราชา ทำการเข้าตีวันแรกก็ถูกฝ่ายข้าศึกผลักก้อนศิลาลงมาทับผู้คนล้มตายเป็นอัน มาก มิอาจจะเข้าตีต่อไปได้ ในที่สุดต้องถอยทัพกลับลงมายังค่ายเชิงเขา
* กองทัพพระสังกะทัต ทำการเข้าตีวันที่สอง เกิดการรบพุ่งกันเป็นสามารถ แต่ฝ่ายข้าศึกอยู่บนที่สูง ชัยภูมิมั่นได้ผลักก้อนศิลาลงมาถูกรี้พลพระสังกะทัตล้มตายเป็นอันมาก จะขึ้นหักเอามิได้ ก็ต้องถอยทัพกลับลงมาเช่นกัน
* กองทัพสมเด็จพระนเรศวร ในระหว่างกองทัพพม่าเข้าตีสองวันแรก สมเด็จพระนเรศวร ได้นำทหารออกสำรวจภูมิประเทศรอบ ๆ เมืองคัง และสังเกตผลการรบของกองทัพหม่าจนกระท่งพบเส้นทางลับด้านหลังเมืองคัง ซึ่งสามารถเข้าตีเมืองคังได้ง่ายกว่า โดยดำเนินการใช้กลยุทธในการเข้าตี สมเด็จพระนเรศวรแบ่งกำลังพลออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่หนึ่งทำการเข้าตีทางด้านหน้าระดมยิงปืนนกสับขึ้นไปอย่างแน่นหนา ในขณะที่ข้าศึกกำลังสาละวนผลักก้อนศิลา และทำการยิงโต้ตอบทางด้านหน้า สมเด็จพระนเรศวรทรงนำทหารจำนวนหนึ่งจู่โจมเข้าตีกระหนาบทางด้านหลังทำให้ข้า ศึกพะว้าพะวัง พระองค์ทรงนำทหารเข้าตีโดยมีการวางแผนอย่างรอบคอบ ใช้กำลังส่วนน้อยเข้าตีลวงข้าศึกเมืองคังด้านหน้า แล้วใช้กำลังส่วนใหญ่เข้าตีทางด้านหลังเมืองคังและสามารถเข้ายึดเมืองคังได้เป็นผลสำเร็จ
สมเด็จพระนเรศวรแบ่งกำลังพลออกเป็น ๒ ส่วน ส่วนที่หนึ่งทำการเข้าตีทางด้านหน้าระดมยิงปืนนกสับขึ้นไปอย่างแน่นหนา ในขณะที่ข้าศึกกำลังสาละวนผลักก้อนศิลา และทำการยิงโต้ตอบทางด้านหน้า สมเด็จพระนเรศวรทรงนำทหารจำนวนหนึ่งจู่โจมเข้าตีกระหนาบทางด้านหลังทำให้ข้า ศึกพะว้าพะวัง พระองค์ทรงนำทหารเข้าตีโดยมีการวางแผนอย่างรอบคอบ ใช้กำลังส่วนน้อยเข้าตีลวงข้าศึกเมืองคังด้านหน้า แล้วใช้กำลังส่วนใหญ่เข้าตีทางด้านหลังเมืองคังและสามารถเข้ายึดเมืองคังได้เป็นผลสำเร็จ
 
=== ผลการต่อสู้ ===
* กองทัพไทยสามารถเข้าตีเมืองคังได้ ทำให้สมเด็จพระนเรศวรมีชื่อเสียงเกรียงไกรไปทั่วทุกสารทิศ เมื่อ พระเจ้ากรุงหงสาวดีได้ประจักษ์ในความกล้าหาญเด็ดเดี่ยวในการรบของสมเด็จพระ นเรศวร ก็ทรงดำริว่า อันสมเด็จพระนเรศวรนั้น ทรงพระปรีชาสามารถในการรบ ทรงมีพระสติปัญญามั่นคงกล้าหาญ ละไว้นานจะเป็นอันตรายต่อกรุงหงสาวดี จึงคิดอุบายเพื่อนำตัวขึ้นมาสำเร็จโทษที่กรุงหงสาวดี เพื่ออำนาจกรุงหงสาวดีจะได้แผ่ไพศาลโดยไม่ต้องระแวงภัยจากกรุงศรีอยุธยา แต่ด้วยเดชะพระกฤดาภินิหารให้วัฒนาถาวรสืบไป จึงได้ทรงทราบแผนการของพระเจ้ากรุงหงสาวดีเสียก่อน
 
* สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสแก่ทหารทั้งปวงว่า “เราหาความผิดมิได้ ซึ่งพระเจ้าหงสาวดีคิดร้ายต่อเราก่อนนั้น อันแผ่นดินพระนครศรีอยุธยากับแผ่นดินเมืองหงสาวดี ขาดจากทางพระราชไมตรีต่อกัน เพราะเป็นอกุศลนิยมสำหรับที่จะใช้ให้สมณพราหมณ์และประชาราษฎร์ ได้รับความเดือดร้อน” ตรัส แล้วพระหัตถ์ขวาทรงพระสุวรรณภิงคารหลั่งอุทกธาราลงเหนือพระสุธาดล จึงออกพระโอษฐ์ตรัสประกาศแก่เทพเจ้าทั้งหลาย อันมีมหิทธิฤทธิ์และทิพยจักขุ ทิพยโสต ซึ่งสถิตย์อยู่ทุกทิศนานุทิศจงเป็นพยาน ด้วยพระเจ้าหงสาวดีมิได้ตั้งอยู่ โดยครรลองสุจริตตามขัตติยราชประเพณี เสียสามัคคีธรรม ประพฤติพาลทุจริต คิดจะทำภยันตรายแก่เรา ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป กรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี มิได้เป็นปฐพีเดียวกันดุจแต่ก่อน ขาดกันวันนี้ตราบเท่ากัลปาวสาน จากสาเหตุนี้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จึงทรงกอบกู้เอกราชของชาติด้วยการประกาศอิสรภาพ ณ เมืองแครง เมื่อปีพุทธศักราช ๒๑๒๗
กองทัพไทยสามารถเข้าตีเมืองคังได้ ทำให้สมเด็จพระนเรศวรมีชื่อเสียงเกรียงไกรไปทั่วทุกสารทิศ เมื่อ พระเจ้ากรุงหงสาวดีได้ประจักษ์ในความกล้าหาญเด็ดเดี่ยวในการรบของสมเด็จพระ นเรศวร ก็ทรงดำริว่า อันสมเด็จพระนเรศวรนั้น ทรงพระปรีชาสามารถในการรบ ทรงมีพระสติปัญญามั่นคงกล้าหาญ ละไว้นานจะเป็นอันตรายต่อกรุงหงสาวดี จึงคิดอุบายเพื่อนำตัวขึ้นมาสำเร็จโทษที่กรุงหงสาวดี เพื่ออำนาจกรุงหงสาวดีจะได้แผ่ไพศาลโดยไม่ต้องระแวงภัยจากกรุงศรีอยุธยา แต่ด้วยเดชะพระกฤดาภินิหารให้วัฒนาถาวรสืบไป จึงได้ทรงทราบแผนการของพระเจ้ากรุงหงสาวดีเสียก่อน
สมเด็จพระนเรศวรจึงตรัสแก่ทหารทั้งปวงว่า “เราหาความผิดมิได้ ซึ่งพระเจ้าหงสาวดีคิดร้ายต่อเราก่อนนั้น อันแผ่นดินพระนครศรีอยุธยากับแผ่นดินเมืองหงสาวดี ขาดจากทางพระราชไมตรีต่อกัน เพราะเป็นอกุศลนิยมสำหรับที่จะใช้ให้สมณพราหมณ์และประชาราษฎร์ ได้รับความเดือดร้อน”
ตรัส แล้วพระหัตถ์ขวาทรงพระสุวรรณภิงคารหลั่งอุทกธาราลงเหนือพระสุธาดล จึงออกพระโอษฐ์ตรัสประกาศแก่เทพเจ้าทั้งหลาย อันมีมหิทธิฤทธิ์และทิพยจักขุ ทิพยโสต ซึ่งสถิตย์อยู่ทุกทิศนานุทิศจงเป็นพยาน ด้วยพระเจ้าหงสาวดีมิได้ตั้งอยู่ โดยครรลองสุจริตตามขัตติยราชประเพณี เสียสามัคคีธรรม ประพฤติพาลทุจริต คิดจะทำภยันตรายแก่เรา ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป กรุงศรีอยุธยากับกรุงหงสาวดี มิได้เป็นปฐพีเดียวกันดุจแต่ก่อน ขาดกันวันนี้ตราบเท่ากัลปาวสาน
จากสาเหตุนี้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช จึงทรงกอบกู้เอกราชของชาติด้วยการประกาศอิสรภาพ ณ เมืองแครง เมื่อปีพุทธศักราช ๒๑๒๗
 
== เหตุผลที่พระนเรศวรตีเมืองคังแตก ==
 
ทรงกำหนดการปฏิบัติที่มีลักษณะเด่น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญแห่งชัยชนะในครั้งนี้
* ต้องการเข้าตีเมืองคังให้ได้อย่างรวดเร็ว กำหนดที่หมายแน่นอน
* ชิงความริเริ่มเป็นฝ่ายรุก และแสวงประโยชน์จากจุดอ่อนของข้าศึก
เส้น 52 ⟶ 45:
* ใช้แผนการเข้าตีอย่างง่าย ๆ ไม่สลับซับซ้อนเท่าใดนัก
* พระองค์ทรงเป็นผู้นำที่กล้าหาญ ทรงนำหน้าทหารอย่างเด็ดเดี่ยว
* รู้จักข้าศึก รู้ภูมิประเทศ และสภาพดินฟ้าอากาศ ซึ่งเราเรียกว่า ข่าวกรองเป้าหมายเป้าหมา
เมื่อพิจารณาผลจากการรบครั้งนี้แล้ว นักการทหารยอมรับว่ายุทธวิธีของ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช นอกจากจะเป็นผู้นำที่ยอดเยี่ยม และใช้การข่าวกรองเป็นเป้าหมายให้เป็นประโยชน์สูงสุด และยังทรงใช้หลักการสงครามอย่างยอดเยี่ยมเป็นอย่างมากอีกด้วย
 
== อ้างอิง ==