ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคิเลกิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ku:Zimanê gilekî
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ta:கிலாக்கி மொழி; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 20:
== ไวยากรณ์ ==
 
=== ระบบกริยา ===
ใกล้เคียงกับภาษาเปอร์เซีย รูปนามกริยาทั้งหมดลงท้ายด้วย -tən/-dən หรือ -V:n, เมื่อ V: สระเสียงยาว รูปปัจจุบันมักสัมพันธ์กับรูปนามกริยา ส่วนรูปอดีตจะเป็นรูปนามกริยาที่ตัด -ən หรือ -n
==== กริยาประกอบ ====
มีกริยาประกอบเป็นจำนวนมากในภาษาคิเลกิ ซึ่งมีรูปแบบต่างจากกริยาโดยทั่วไป ส่วนใหญ่ ไม่ใช้คำอุปสรรค bV- และคำอุปสรรคปฏิเสธ nV- สามารถทำหน้าที่คล้ายอาคม -n-, โดยมาระหว่างอปสรรคและรากศัพท์ ดังนั้น จาก fagiftən, "ได้รับ", จะได้ รูปชี้เฉพาะปัจจุบัน fagirəm, แต่ เงื่อนไขปัจจุบันเป็น fágirəm, และรูปปฏิเสธของทั้งคู่เป็น fángirəm หรือ fanígirəm. รูปอดีตเป็น fángiftəm หรือ fanígiftəm.
=== นาม ===
ภาษาคิเลกิใช้ระบบของการกร่วมกับคำบุพบท มีสามการกคือ การกประธาน การกความเป็นเจ้าของ และการกกรรม
=== คำคุณศัพท์ ===
มาก่อนคำที่ถูกขยายและมักลงท้ายด้วยการกแสดงความเป็นเจ้าของ
 
{{อินโด-อิหร่าน}}
{{วิกิภาษาอื่น|glk}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอิหร่าน|คิเลกิ]]
 
เส้น 53 ⟶ 54:
[[ru:Гилянский язык]]
[[sv:Gilaki]]
[[ta:கிலாக்கி மொழி]]
[[tr:Gilanice]]
[[zh-min-nan:Gilaki-gí]]