ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาชิงช้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Surapol Wattanavijarn (คุย | ส่วนร่วม)
→‎การบูรณปฏิสังขรณ์: เสาชิงช้าต้นปัจจุบันไม่มีห้องใต้ดินแต่อย่างใด
Surapol Wattanavijarn (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 38:
กระทั่งวันที่ [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2539|2539]] มีการบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งโดยสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร (กทม.) ได้ใช้สายเหล็กรัดเป็นโครงเหล็กประกับ คล้ายลักษณะเข้าเฝือกไม้ยึดโครงสร้างหลัก
 
ล่าสุดเดือนกุมภาพันธ์ [[พ.ศ. 2548]] พบว่าเสาชิงช้ามีความชำรุดทรุดโทรมมาก ปรากฏรอยผุแตกเป็นร่องลึกตลอดแนวยาว โดยเฉพาะโคนรอยต่อเสากลาง กทม. จึงได้ทำหนังสือขออนุญาต[[กรมศิลปากร]] เพื่อดำเนินการบูรณปฏิสังขรณ์ด้วยการเปลี่ยนเป็นเสาใหม่ทั้งหมด เน้นการแก้ไขการผุกร่อนในระยะยาว เนื่องจากสาเหตุที่เสาชิงช้าผุกร่อนได้ง่ายนั้น เป็นเพราะภายใต้ฐานเสามีหลักทั้งสองต้นใช้ไม้ยาวท่อนละประมาณ 7เมตร ทำสลักเดือยต่อกันถึง 3 ท่อน ทำให้น้ำซึมขังเข้าในรอยต่อจนไม้ผุได้ง่าย ทางกทม. ตั้งเป้าไว้ว่าเสาชิงช้าใหม่ หากได้รับการดูแลบำรุงรักษาอย่างดีจะยืนหยัดมีความมั่นคง แข็งแรงต่อไปได้ถึง 100 ปี เมื่อเทียบกับการบูรณะครั้งก่อนหน้าที่ทำให้เสาชิงช้ามีอายุการใช้งานเพียงมากกว่า 35 ปี
 
== ความสำคัญทางโบราณคดี ==