ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฌ็อง ฟูแก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: fi:Jean Fouquet
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{กล่องข้อมูล ศิลปิน
| สี = #191970
| ชื่อ = ฌองฌ็อง โฟเคท์ฟูแก
| ภาพ = Jean Fouquet.png
| คำบรรยายภาพ = ภาพเหมือน ค.ศ. 1450 ซึ่งเป็นภาพเหมือนแบบจุลจิตรกรรมแรกที่สุด และอาจจะเป็นภาพเหมือนภาพแรกๆ ที่ทำขึ้น<ref>As opposed to ones "inserted" into religious or other scenes. Jan van Eyck painted a self-portrait (National Gallery, London that is widely believed to be a self-portrait and is dated 1433</ref>
บรรทัด 21:
| อิทธิพลต่อ =
}}
'''ฌองฌ็อง โฟเคท์ฟูแก''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: {{lang-fr|Jean Fouquet}} หรือ '''เฌออ็อง ฟูแก''' ({{lang|fr|Jehan Fouquet)}}; ([[ค.ศ. 1420]] - [[ค.ศ. 1481]]) เป็นจิตรกรคนสำค้ญของฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 15 มีความสำคัญทั้งการเขียนภาพบนแผ่นไม้และการเขียนภาพสำหรับ [[หนังสือวิจิตร]] (Illuminated manuscript) และเป็นผู้เริ่มการวาดภาพเหมือนแบบ[[จุลจิตรกรรม]] (Miniature)
 
==ชีวิต==
ฌองฌ็อง โฟเคท์ฟูแกเกิดที่เมืองทัวร์ตูร์ ประวัติของโฟเคท์ฟูแกไม่มีให้ทราบมากนักนอกจากว่าได้ไป[[ประเทศอิตาลี]]ราวปี ค.ศ. 1437 และได้เขียนภาพของ[[สมเด็จพระสันตะปาปายูจีนที่ 4]] ซึ่งเหลือเพียงงานลอกที่มาทำกันหลังจากนั้น หลังจากที่กลับมาจากอิตาลีโฟเคท์ฟูแกก็นำอิทธิพล[[ทัสเคนี]]มาผสมกับแบบฝรั่งเศสของตนเองและลักษณะของ[[ยาน แวน เอค]] ซึ่งกลายมาเป็นฐานของจิตรกรรมฝรั่งเศสสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 15 ฉะนั้นโฟเคท์ฟูแกจึงถือว่าเป็นผู้ริเริ่มตระกูลศิลปะใหม่ตระกูลหนึ่ง นอกจากนั้นโฟเคท์ฟูแกก็ยังเป็นจิตรกรประจำราชสำนักของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 11 แห่งฝรั่งเศส]]ด้วย
 
==งาน==
[[ไฟล์:Fouquet Madonna.jpg|right|thumb|left||220px|“[[พระแม่มารีและพระบุตร]]ล้อมรอบด้วยเทวดา” (Virgin and Child Surrounded by Angels) เขียนเมื่อปี ค.ศ. 1450]]
ความสามารถที่เด่นที่สุดของโฟเคท์ฟูแกคือการวาดภาพใน[[หนังสือวิจิตร]] ซึ่งทำได้อย่างคมชัดและมีรายละเอียดที่สวยงาม โฟเคท์ฟูแกสามารถแสดงภาพที่มีพลังในการแสดงออกในเนื้อทีที่จำกัด ความสำคัญของโฟเคท์ฟูแกจะเห็นได้จากการรวบรวมงานจากทั่วยุโรปมาจัดงานแสดงภาพเขียนที่หอสมุดแห่งชาติที่ปารีส
 
งานที่สำคัญที่สุดชิ้นหนื่งของโฟเคท์คืองานหนื่งของฟูแกคืองาน[[บานพับภาพ|บานพับภาพสอง]] “เมลุง”อเลิง” (Melun) ที่เขียนราวปี ค.ศ. 1450 เดิมตั้งอยู่ภายในมหาวิหารเมลุน ภาพทาง[[:Image:Jean Fouquet 006.jpg|ปีกซ้าย]]เป็นภาพของเอเทียงเตียน เชเชอวาลิลีเย (Etienne Chevalier) และ[[นักบุญสตีเฟน]]ผู้เป็นนักบุญผู้พิทักษ์ (ปัจจุบันอยู่ที่เกอเมิลเดอแกอเมลเดอกาเลอรี (Gemäldegalerie) ที่กรุง[[เบอร์ลิน]]) ทางปีกขวาเป็นภาพ[[พระแม่มารีและพระบุตร]]ล้อมรอบด้วยเทวดา (ปัจจุบันอยู่ที่[[ราชพิพิธภัณฑ์ศิลปะแห่งชาติ]] ที่เมือง[[อันท์เวิร์พแอนต์เวิร์ป]] [[ประเทศเบลเยียม]]) ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 เป็นต้นมาก็เป็นที่ทราบกันว่าพระแม่มารีในรูปเป็นภาพเหมือนของแอ็กเนส ซอเรล ([[:Image:AgnesSorel11.jpeg|รูป]])<ref>Snyder, J. (1985). Northern Renaissance art painting, sculpture, the graphic arts from 1350 to 1575. New York: Abrams; p. 247</ref> [[พิพิธภัณฑ์ลูฟร์]]เป็นเจ้าของภาพเหมือนของ[[พระเจ้าชาร์ลที่ 7]], เคานท์วิลเซค (Wilczek) และ Guillaume Jouvenal des Ursins รวมทั้งภาพเขียนดินสอสี
 
ภาพเหมือนแบบจุลจิตรกรรมเป็นงานภาพเหมือนภาพแรกของศิลปะยุโรปตะวันตก นอกจากว่าจะนับภาพที่เขียนโดยยาน แวน เอคซึ่งนักประวัติศาสตร์ศิลปะเชื่อกันว่าเป็นภาพแรก
 
งานส่วนใหญ่ของโฟเคท์ฟูแกคือการวาดภาพใน[[หนังสือวิจิตร]] และจุลหนังสือวิจิตร [[วังชองทิอี]] (Château de Chantilly) มีงานของโฟเคท์ถึงฟูแกถึง 40 เล่มจาก[[หนังสือประจำชั่วโมง]]ซึ่งเขียนเมื่อปี ค.ศ. 1461 สำหรับเอเทียงเตียน เชเชอวาลิลีเย
 
== อ้างอิง ==
<references />
{{commonscat| Jean Fouquet |ฌองฌ็อง โฟเคท์ฟูแก}}
 
==ดูเพิ่ม==
บรรทัด 66:
{{Link FA|es}}
{{จิตรกรรมตะวันตก}}
{{เรียงลำดับ|ฟโเคท์}}
[[หมวดหมู่:จิตรกรชาวฝรั่งเศส]]
[[หมวดหมู่:จิตรกรในคริสต์ศตวรรษที่ 15]]