ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เชียงลาบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''เมืองเชียงลาบ''' (Kenglarp) หรือ "เวียงแคว้นสา" เป็นเมืองเก่าแก่ของ[[ชาวไทลื้อ]]บางครั้งจะเรียกชื่อเมืองโขง หรือ เมืองโขงโค้ง หรือ เวียงแคว้นสา ตั้งอยู่ใน[[แขวงท่าขี้เหล็ก]] [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] ตรงข้ามกับเมือง[[เชียงกก]] [[ประเทศลาว]] และตั้งอยู่ครึ่งทางระหว่างหิรัญเงินยางนคร (เมือง[[เชียงแสน]]) [[ประเทศไทย]] และ[[เมืองเชียงรุ่ง]] [[สิบสองปันนา]] [[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศจีน]] ตัวเมืองตั้งอยู่ตรงแหลมเชียงลาบ มีเจ้าผู้ครองเมืองตามนามเมืองว่า "เจ้าหลวงเชียงลาบ" ก่อตั้งปฐมผู้สร้างเมืองโดย'''คือ พญาคำแดง'''เจิงหาญ ราชบุตรของหรือ ขุนเจือง หรือ สมเด็จพระเจ้าเจืองฟ้าธรรมิกราช[[สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1]]วีรบุรุษในตำนานของชนชาติไตย (พญาเจื๋อง)ตลอดลุ่มแม่น้ำโขง แห่งราชวงค์อาฬโวสวนตาน เมืองเชียงรุ่ง
{{เก็บกวาด}}
'''เมืองเชียงลาบ''' (Kenglarp) หรือ "เวียงแคว้นสา" เป็นเมืองเก่าแก่ของ[[ชาวไทลื้อ]]บางครั้งจะเรียกชื่อเมืองโขง หรือ เมืองโขงโค้ง หรือ เวียงแคว้นสา ตั้งอยู่ใน[[แขวงท่าขี้เหล็ก]] [[รัฐฉาน]] [[ประเทศพม่า]] ตรงข้ามกับเมือง[[เชียงกก]] [[ประเทศลาว]] และตั้งอยู่ครึ่งทางระหว่างเมือง[[เชียงแสน]] [[ประเทศไทย]] และ[[เมืองเชียงรุ่ง]] [[สิบสองปันนา]] [[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศจีน]] ตัวเมืองตั้งอยู่ตรงแหลมเชียงลาบ มีเจ้าผู้ครองเมืองตามนามเมืองว่า "เจ้าหลวงเชียงลาบ" ก่อตั้งเมืองโดย'''พญาคำแดง''' ราชบุตรของ[[สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1]] (พญาเจื๋อง) แห่งราชวงค์อาฬโวสวนตาน เมืองเชียงรุ่ง
 
เชียงลาบซึ่งเป็นบริเวณที่[[แม่น้ำโขง]]ไหลเชี่ยวที่สุด หรือที่เรียกว่า "โขงโค้ง" เป็นแนวบริเวณที่อันตรายที่สุดในการเดินเรือ เนื่องจากเป็นบริเวณที่แม่น้ำโขงไหลลงมาตรงแล้วกระทบกับโขดหินและไหลย้อยกลับขึ้นไปข้างบน จึงทำให้แม่น้ำโขงในบริเวณนี้ไหลแรงและเชี่ยวที่สุดและต้องใช้ความชำนาญสูงในการเดินเรือสินค้า หากมองด้านจุดยุทธศาสตร์การเมือง การคมนาคม และการค้าขายในอดีต เมื่อสองร้อยกว่าปีที่ผ่านมา หากต้องเดินทางเดินทางจากเชียงแสนไปเชียงรุ่ง ต้องหยุดพักตรงนี้ เมื่อมีการหยุดพักแล้วจึงมีคารวานต่าง ๆ มาแลกเปลี่ยนสินค้าในบริเวณดังกล่าว จึงทำให้เชียงลาบกลายเป็นเมืองหน้าด่านสู่ประตูสู่เชียงรุ่งโดยปริยาย
 
บริเวณเมืองเมืองตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขงที่ไหลย้อนขึ้นและไหลลง ชาวเมืองเรียกบริเวณนี้ว่า '''"โขงโค้ง"''' ทางตอนกลางของเมืองมีแม่น้ำลาบ ไหลผ่านลงไปแม่น้ำโขง หากนั่งเรือจากเชียงแสนขึ้นไปราว 82 กม. ตลอดฝั่งลำน้ำโขงบริเวณเมืองเชียงลาบจะพบหินมหัศจรรย์ ซึ่งเป็นหิน 7 สีตลอดสองฝั่งแม่น้ำโขง ซึ่งมีเพียงแห่งเดียวในแม่น้ำโขงที่เมืองเชียงลาบ และถือว่าเป็นหินศักดิ์สิทธิ์
 
นามเมือง '''เชียงลาบ''' เชียง หมายถึงเมือง ซึ่งคำว่าเชียงนี้เป็นคำเรียกชื่อเมืองขนาดใหญ่ และเจริญรุ่งเรือง ในด้านต่าง ๆ ทั้งผู้คน วัฒนธรรม ประเพณี การปกครองโดยเจ้าฟ้า หรือกษัตริย์ ซึ่งจะใกล้เคียงกับคำว่า''' เวียง''' ความหมายคือเมือง แต่เป็นเมืองขนาดเล็ก ซึ่งในตัวเมืองจะเป็นที่ตั้งของหอคำหลวงซึ่งติดแม่น้ำโขง มีชื่อเรียกพระราชวังนี้ว่า หอคำหลวงเวียงแคว้นสา
 
 
ลาบเป็นชื่อของ[[แม่น้ำลาบ]] ตามความหมายคือของนามเมืองที่มีแม่น้ำลาบเป็นหัวใจ แม่น้ำลาบซึ่งเป็นแม่น้ำขนาดใหญ่ไหลเกิดบนเทือกเขาตอนเหนือของ[[เมืองยอง]]ผ่านหลายเมือง แม่น้ำลาบ ที่มีน้ำไหลแรง และเชี่ยว จนทำให้เกิดตะกอนดินมีสีแดงไหลลงมาตลอด ไหลผ่านหลายเมืองจนมาถึงสบลาบ ริมโขงที่เมืองเชียงลาบ ชาว[[ไทลื้อ]]เรากรียกแม่น้ำนี้ว่า แม่น้ำลาบ
 
 
อีกความหมายหนึ่งของนามเมือง ซึ่งปรากฏภายหลังในตำนานพญามังรายตามกวางคำ ไปจนถึงเมืองเชียงลาบ แล้วกวางคำนั้นหายไป แล้วหลังจากนั้นพญามังรายได้พาผู้คนบางส่วนมาตั้งบ้านเรือนที่เชียงลาบ และปรากฏหลักฐานว่าสมัยพญามังรายตั้งเชียงแสน เป็นราชธานีนั้น เมืองเชียงลาบเป็นเมืองขึ้นของเชียงแสน
 
 
เส้น 34 ⟶ 25:
== ประวัติศาสตร์ ==
 
เมืองเชียงลาบ เป็นหัวเมืองไทลื้อ เมืองหนึ่งของสิบสองปันนา ก่อตั้งโดย'''พญาคำแดง''' '''ราชบุตรของพญาเจื่องธรรมิกราชเจื่องฟ้าธรรมิกราช หรือ ขุนเจื่อง หรือ พญาเจื่อง หรือ สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1 แห่งราชวงค์อาฬาโวสวนตาน''' มูลเหตุการตั้งเมืองนั้นภายหลังพญาเจืองได้ขยายอณาเขตแผ่นดินไทลื้อได้กว้างขวางถึงสิบสองปันนาทั้งหมด รวมถึง หนองแส (ภาษาลื้ออ่านว่า หนองเส) ล้านนา ล้านช้าง และเมืองแถน เดียนเบียนฟู(เวียดนามเหนือ)เนื่องจากแผ่นดินสิบสองปันนา เมืองไทลื้อนั้นกว้างใหญ่ไพศาลยิ่งนัก สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่หนึ่ง ได้ทรงให้ราชบุตรแต่ละพระองค์ไปสร้างบ้านแปลงเมืองเพื่อปกครองไพร่ฟ้า ในแต่ละหัวเมืองทั่วทั้งสิบสองปันนาและเมืองต่าง ๆ ในลุ่มน้ำโขง
 
ส่วนเมืองเชียงลาบนั้นพญาเจืองธรรมิกราช ได้เห็นถึงความสำคัญของการค้าขาย และประกอบกับชัยภูมิที่เหมาะสม อีกทั้งเป็นประตูสู่อยู่กึ่งกลางระหว่างหิรัญเงินยางนคร และเชียงแสนรุ่ง ซึ่งหากเกิดข้าศึกรุกรานเชียงรุ่ง ตรงจุดนี้ซึ่งเป็นจุดโขงโค้ง แม่น้ำโขงไหลเชี่ยวที่สุด ประกอบกับและเป็นจุดที่ยากลำบากที่สุดในการคมนาคม หากมีข้าศึกรุกรานจะทำให้ข้าศึกเหนื่อยล้า และสามารถสะกัดกั้นไม่ให้ข้าศึกไปตีเมืองหลวงเชียงรุ่งได้ ดังนั้นจึงได้โปรดให้เจ้าราชบุตรพญาเจ้าคำแดง และบริวาร เสนาอามาตย์ สมณะ ครูบาสังฆเจ้า ไพร่พล เดินทางลงเรือ ตามลำน้ำของ เรียกกันว่า "[[ล่องของ]]" มาขึ้นฝั่งตรงสบลาบ และเมื่อเจ้าราชบุตรสร้างเวียงใหม่ขึ้น และสมณะนามว่า ครูบาสังฆเจ้า พิจารณาเห็นชัยภูมิที่เหมาะสมแล้ว จึงได้ให้พราหมณ์"เวียงลาบ" หรือ เข้าจ้ำ กระทำพิธีบวงสรวงลงผูกอาถรรพ์ฝังหลักใจ๋เมือง และใจ๋บ้าน สร้างบ้านแปลงเมือง และมีเมืองหลวงชื่อว่า '''เวียงแคว้นสา'''เชียงลาบ
 
'''เมืองเชียงลาบ'''เป็นเมืองที่ตั้งอยู่ที่ลาดเชิงเขา ตัวเมือง ติดแม่น้ำโขง และเป็นเมืองท่าค้าขายที่สำคัญ ฉะนั้นรายได้หลักของเมืองคือ การเก็บภาษี อากร ส่วย ข่อน ที่เกิดจากพ่อค้าที่เดินทางไปค้าขายระหว่างเชียงแสน และเชียงรุ่ง อีกทั้งด้านทิศตะวันตกของเมืองเป็นภูเขาสูงซึ่งอุดมไปด้วยป่าไม้สัก และ น้ำผึ้ง และของป่าอื่น ๆ อีกทั้งด้านทิศเหนือซึ่งอยู่ใกล้กับเมืองลวงซึ่งเป็นแหล่งผลิตเกลือสินเธาร์ ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าสำคัญที่พวกพ่อค้าชาวจีนฮ่อ และไทใหญ่ นำลงมาขายให้กับเชียงแสน ปัจจุบันเมืองเชียงลาบก็ยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญ ซึ่งตรงข้ามกับท่าเชียงกกของลาว ในการเดินทางไปติดต่อค้าขายในสิบสองปันนา
 
เมื่อตั้งเมืองมาได้ไม่นานหลังสิ้นยุคของพญาเจิงหาญ หรือ ขุนเจือง พญายอง เจ้าเมืองยอง ได้ถือโอกาสยกทัพเข้าโจมตีเมืองเชียงลาบ และสามารถยึดเมืองได้ ดังนั้นเชียงลาบจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองยองมาตั้งแต่ต้น ภายหลังเมืองยองขาดเจ้าเมืองปกครอง และถูกเจ้าเมืองเชียงรุ่งร่วมกับทัพเมืองเชียงลาบยกทัพมาตีเมืองคืน และได้ยกทัพขึ้นไปตีเมืองยอง สุดท้ายเมืองยองจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงรุ่ง และเมืองเชียงลาบ
 
พอถึงสมัยต่อมา[[พญามังราย]]ครองเมือง[[โยนก]] ก็ยกทัพไปตีทางด้านเมือง[[เชียงของ]] [[ลำพูน]](อาณาเขตรวมเชียงใหม่ในปัจุบันด้วย) เชียงตุง และตีได้รุกรานไปในเขตเชียงรุ่งด้วยอีกส่วนหนึ่ง (ตามหมิงสือลู่ของจีน) ดังนั้นบริเวณเมืองยองส่วนที่เป็นเมืองไร เชียงลาบ พยาก พะแลว จึงถูกรวมเข้าในอาณาจักรโยนกของพญามังรายด้วย ต่อมาเมื่อพญามังรายไปตั้งกุมกาม และเชียงใหม่ ก็ให้[[พญาแสนพู]]ไปอยู่เชียงแสน ปรากฏชื่อเมืองเชียงลาบว่าเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงแสนในสมัยพญาแสนพูนี้เอง (ดูในจารึกวัดป่าสักที่ถูกถ่ายออกมาเป็นเรื่องเล่าในพื้นเมืองเชียงแสน) หลังจากนั้นมาเมืองเชียงลาบก็รวมอยู่กับเมืองเชียงแสนตลอด
เส้น 69 ⟶ 60:
ต่อมาเจ้าสรีหน่อเมืองเชียงแขงย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่[[เมืองสิงห์]] (เมืองสิงห์ในประเทศลาวปัจจุบัน) เรียกชื่อว่า เมืองเชียงแขง เหมือนเดิม เจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงซึ่งเป็นหลานก็จะเอาเมืองหลวยใต้คืนแต่สุดท้ายตกลงกันว่าให้ขึ้นกับเมืองเชียงแขงตามเดิม เมืองเชียงลาบจึงยังคงรวมกับเมืองเชียงแขง
 
ต่อมาเมื่อ รัชกาลที่ 5 ของสยาม ทราบว่าเจ้าเมืองเชียงแขงย้ายเมืองมาตั้งที่เมืองสิงห์ก็มีพระบรมราชองการราชโองการให้เจ้าเมืองน่านคือ พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ [[เจ้าหลวงสุริยะ]](ต่อมาเป็นพระเจ้าน่าน) ให้ไปบอกว่าที่นั่นเป็นเขตของสยามเพราะตอนนั้นลาวทั้งหมดจนถึงสิบสองพันนาบางส่วนคืออูใต้อูเหนือ และ[[สิบสองจุไท]] [[เมืองถง]] [[เมืองไล]] (ปัจจุบันคือ[[เดียนเบียนฟู]]และเมือง[[ไลเจา]]ในประเทศเวียดนาม) ทั้งหมดนี้เป็นอาณาเขตของสยาม
 
ดังนั้นเจ้าเมืองเชียงแขงจึงส่งบรรณาการลงมาถวาย (ได้มีโอกาสเห็นเอกสารฉบับนี้แล้ว ตัวหนังสือสวยมาก มีตราประทับด้วย) ต่อมาเมื่ออังกฤษทราบเรื่องก็ส่งคนลงมาบ้าน เมืองเชียงแขงก็ต้องทำตาม พอฝรั่งเศสมาอีก เชียงแขงก็ต้องส่งบรรณาการอีก แต่เมื่อสยามทราบข่าวว่าอังกฤษฝรั่งเศสแย่งชิงอำนาจเหนือดินแดนเมืองสิงห์ (ซึ่งยังเรียกว่าเชียงแขงอยู่) ก็ยกกองทัพขึ้นไปรักษาไว้ตามเขตแดนหลวงพระบาง ต่อมาเกิดกรณีพิพาทเรื่องพระยอดเมืองขวาง จนสยามต้องทำสนธิสัญญายกลาวฝั่งที่เป็นประเทศลาวปัจจุบันให้กับฝรั่งเศสไป
เส้น 107 ⟶ 98:
 
== ชาวเมืองเชียงลาบในประเทศไทย ==
 
หลังจากเหตุการณ์ ปี [[พ.ศ. 2347]] เมืองเชียงลาบแตก ไพร่พลและชาวเมืองบางส่วนถูกกวาดต้อนมาที่เมือง[[น่าน]] ครั้นเมื่อพญาอัตถวรปัญโญ ได้เดินทางมาถึงเมืองน่าน ได้เกิดนองหลวงที่เมืองย่าง และเมืองยม ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก อีกทั้งแสนปั๋น เจ้าเมืองย่าง ได้เสียได้สิ้นชีวิต เจ้าอัตถวรปัญเจ้าจึงได้เดินทางมาตรวจสภาพความเสียหาย พร้อมกับโปรดให้ชาวเมือง[[เชียงลาบ]] [[เมืองยอง]] และ[[เมืองยู้]] ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำย่างเขตเมืองยม เพื่อฟื้นฟูสภาพความเสียหาย อีกทั้งครั้งนั้นท่านได้แต่งตั้งแสนจิณขึ้นปกครองเมืองย่าง
 
ส่วนชาวไทลื้อเมือง[[เชียงลาบ]]นั้นได้ตั้งบ้านเรือนริมน้ำบั่ว โดยตั้งชื่อหมู่บ้านว่า '''บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย''' ปัจจุบันคือ '''[[บ้านลอมกลาง]]''' ขึ้นการปกครองกับบ้านเชียงยืน โดยมี'''หลวงแสนปัญญา'''เป็นหัวหน้าหมู่บ้านเชียงยืน ทำหน้าที่ปกครอง บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย บ้านน้ำบั่ววัด บ้านเชียงยืน
 
นอกจากนั้นยังมีชาวไทลื้อเมืองเชียงลาลาบอยู่ที่

บ้านถ่อน ต.จอมพระ อ.ท่าวังผา
 
บ้านป่าน ต.สถาน อ.ปัว จ.น่าน
เส้น 132 ⟶ 126:
 
* จารึกพื้นเมืองเชียงแสน วัดป่าสัก จ.เชียงราย
* จารึกชาวประวัติไทลื้อเมืองเชียงลาบ วิหารวัดทุ่งฆ้อง ต.ยม อ.ท่าวังผา จ.น่าน
* จารึกประวัติชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบ วิหารวัดเชียงยืน ต.ยม อ.ท่าวังผา จ.น่าน
* ข้อมูลวิถีชุมชนชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบ เมืองยอง เมืองยู้ อ.ท่าวังผา จ.น่าน
* หนังสือคนยองย้ายแผ่นดิน
 
{{เขตการปกครองพม่า/รัฐฉาน}}
[[หมวดหมู่:เชียง|ลลาบ]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศพม่า|ช]]