ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาร์ล เดอ โกล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ชาร์ล เดอ โกล ทับหน้าเปลี่ยนทาง
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||ท่าอากาศยาน|ท่าอากาศยานนานาชาติชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล}}
{{ผู้นำประเทศ
| name = ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล<br />Charles de Gaulle
| image = Charles_de_Gaulle1.jpg
| imagesize = 170px
บรรทัด 7:
| term_start = [[8 มกราคม]] [[พ.ศ. 2502]]
| term_end = [[28 เมษายน]] [[พ.ศ. 2512]]
| primeminister = [[มิมีแชล เดอเบร]] <small>([[พ.ศ. 2502|2502]] - [[พ.ศ. 2504|2504]])</small><br />[[ชอร์ชฌอร์ฌ ปงปิดูปีดู]] <small>([[พ.ศ. 2505|2505]] - [[พ.ศ. 2511|2511]])</small><br />[[โมมอริส กูฟ เดอ มูร์วิลล์มูร์วีล]] <small>([[พ.ศ. 2511|2511]] - [[พ.ศ. 2512|2512]])</small>
| predecessor = [[เรอเน โกตี้กอตี]]
| successor = [[อแลงอาแล็ง โปเอร์ปอแอร์]] <small>(รักษาการ)</small>
| order2 = [[คณะรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส|ประธานคณะรัฐบาลเฉพาะกาลฝรั่งเศสคนที่ 1]]<br /><small>[[นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส|นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสคนที่ 124]]</small>
| term_start2 = [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2487]]
| term_end2 = [[20 มกราคม]] [[พ.ศ. 2489]]
| predecessor2 = ''เป็นหัวหน้า[[กองทัพเสรีฝรั่งเศส]]''<br />[[ฟิลิปป์ฟีลิป เปแต็ง]] <small>([[วิชีฝรั่งเศส|ประมุขแห่งรัฐ]])</small><br />[[ปีแอร์ ลาวาล]] <small>([[นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส|นายกรัฐมนตรี]])</small>
| successor2 = [[เฟลิกซ์ กูแอ็ง]]
| order3 = [[นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส|นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศสคนที่ 149]]<br /><small>[[รายนามนายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส|นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4 คนที่ 22]]</small>
| term_start3 = [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2501]]
| term_end3 = [[8 มกราคม]] [[พ.ศ. 2502]]
| president3 = [[เรอเน โกตี้กอตี]]
| predecessor3 = [[ปีแอร์ ฟลิมแล็ง]]
| successor3 = [[มิมีแชล เดอเบร]]
| order4 = [[กองทัพเสรีฝรั่งเศส|หัวหน้ากองทัพเสรีฝรั่งเศส]]
| term_start4 = [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2483]]
บรรทัด 27:
| successor4 = [[คณะรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]
| birth_date = [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2433]]
| birth_place = {{flagicon|France}} [[ลีลล์ลีล]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
| death_date = {{วันตายและอายุ|2513|11|9|2433|11|22}}
| death_place = {{flagicon|France}} [[โกลล์งเบโกลงเบ-เลส์-เดอ-เซกลีซ]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
| spouse = [[อีวอนน์ เดอ โกลล์โกล]]
| occupation = [[ทหาร]] ([[พลเอก]])
| party = [[Union of Democrats for the Republic|UDR]]
| religion = [[โรมันคาทอลิก]]
|}}
'''ชาร์ลส์ชาร์ล อองเดรอ็องเดร โชแซฟโฌแซ็ฟ มารี เดอ โกลล์โกล''' ({{lang-fr|''Charles André Joseph Marie de Gaulle''}}) หรือ '''ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล''' ([[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2433]] – [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2513]]) เป็นนายทหารและ[[รัฐบุรุษ]]ชาว[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โดยเป็นที่รู้จักในนาม '''นายพลเดอ โกลล์โกล'''
 
ก่อนสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี [[พ.ศ. 2487]] (ค.ศ. 1944) ถึง [[พ.ศ. 2489]] (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) ถึงปี [[พ.ศ. 2512]] (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของ[[ลัทธินิยมโกลล์โกล]] และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อมา
'''ชาร์ลส์ อองเดร โชแซฟ มารี เดอ โกลล์''' ({{lang-fr|''Charles André Joseph Marie de Gaulle''}}) หรือ '''ชาร์ลส์ เดอ โกลล์''' ([[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2433]] – [[9 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2513]]) เป็นนายทหารและ[[รัฐบุรุษ]]ชาว[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ใน[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] โดยเป็นที่รู้จักในนาม '''นายพลเดอ โกลล์'''
 
ก่อนสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เขาเป็นที่รู้จักในฐานะนักยุทธวิธีการรบด้วยรถถัง และผู้นิยมการรบด้วยการใช้ยานเกราะและกองกำลังทางอากาศ เขาเป็นผู้นำการปลดปล่อยฝรั่งเศสในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และผู้นำรัฐบาลชั่วคราวในช่วงปี [[พ.ศ. 2487]] (ค.ศ. 1944) ถึง [[พ.ศ. 2489]] (ค.ศ. 1946) ถูกเรียกตัวไปจัดตั้งรัฐบาลในปี [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) เขาได้เป็นแรงบันดาลใจในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเป็นประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนแรกในยุคสาธารณรัฐที่ 5 ระหว่างปี [[พ.ศ. 2501]] (ค.ศ. 1958) ถึงปี [[พ.ศ. 2512]] (ค.ศ. 1969) แนวคิดทางการเมืองของเขาเป็นที่รู้จักในนามของ[[ลัทธินิยมโกลล์]] และมีอิทธิพลอย่างมากต่อการเมืองฝรั่งเศสในยุคต่อมา
 
== ประวัติ ==
ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล เกิดเมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2433]] เป็นลูกคนที่ 3 ใน 5 ของครอบครัว[[โรมันคาทอลิก]]ที่มีลักษณะอนุรักษ์-เสรีนิยมที่เมืองลีลล์ลีล ซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]ติดกับ[[ประเทศเบลเยี่ยม]]
 
เขาเติบโตและได้รับการศึกษาใน[[กรุงปารีส]]ที่ Collège Stanislas de Paris และยังได้ศึกษาใน[[ประเทศเบลเยี่ยมเบลเยียม]]ระยะหนึ่ง
ชาร์ลส์ เดอ โกลล์ เกิดเมื่อวันที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2433]] เป็นลูกคนที่ 3 ใน 5 ของครอบครัว[[โรมันคาทอลิก]]ที่มีลักษณะอนุรักษ์-เสรีนิยมที่เมืองลีลล์ ซึ่งตั้งอยู่ทางเหนือของ[[ประเทศฝรั่งเศส]]ติดกับ[[ประเทศเบลเยี่ยม]]
 
เขาเติบโตและได้รับการศึกษาใน[[กรุงปารีส]]ที่ Collège Stanislas de Paris และยังได้ศึกษาใน[[ประเทศเบลเยี่ยม]]ระยะหนึ่ง
 
เชื้อสายฝ่ายพ่อของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลนั้นเป็นชนชั้นผู้ดีตระกูลสูง (อภิชนาธิปไตย) ในแถบนอร์มังนอร์ม็องดีและเบอร์ชังกันดีมาเป็นเวลานาน ซึ่งได้ย้ายรกรากมาอาศัยอยู่ใน[[ปารีส|กรุงปารีส]]เป็นเวลากว่าศตวรรษแล้ว ส่วนเชื้อสายทางฝ่ายแม่ของเขานั้น เป็นผู้บริหารกิจการอุตสาหกรรมที่ร่ำรวยแห่งเมืองลีลล์ในบริเวณฟลานเดอร์ส์ฝรั่งเศสลีลในบริเวณฟลานเดอส์ฝรั่งเศส
 
คำว่า '''เดอ (de)''' (ซึ่งแปลว่า แห่ง หรือ ณ) ในคำว่า '''เดอ โกลล์โกล (de Gaulle)''' นั้นไม่ได้เป็นนามสกุลขุนนางแต่อย่างใด ทั้งๆทั้ง ๆ ที่บรรพบุรุษของครอบครัว เดอ โกลล์โกล นั้น เป็นขุนนางหรืออัศวินซึ่งสูงด้วยยศและตำแหน่ง ซึ่งบรรพบุรุษคนแรกๆแรก ๆ ของตระกูล เดอ โกลล์โกล นั้นมียศเป็นผู้ติดตามอัศวิน (Écuyer) ในสมัยพระเจ้าฟิลิปที่ 2 ช่วงศตวรรษที่ 12 เป็นที่เชื่อกันว่า คำว่า เดอ โกลล์โกล นั้นได้มีวิวัฒนาการมาจากคำว่า '''De Walle''' ซึ่งแปลว่า กำแพงเมืองหรือป้อมปราการ ในภาษาเยอรมัน เนื่องจากขุนนางฝรั่งเศสในสมัยก่อนนั้น สืบเชื้อสายมาจากพวก[[แฟรงก์]]และนอร์มังเยอรมัน ซึ่งก็ทำให้ได้รับอิทธิพลในการใช้ชื่อเยอรมัน และเป็นที่สังเกตว่า คำว่า '''เดอ โกลล์โกล (de Gaulle)''' นั้นจะขึ้นต้นด้วย ''d'' ตัวเล็กเสมอ
 
ปู่ของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลนั้นเป็นนักประวัติศาสตร์ ส่วนย่าเป็นนักเขียน พ่อของเขา [[อองรีอ็องรี เดอ โกลล์โกล]] เป็นครูในโรงเรียนคาทอลิกเอกชน ซึ่งเขาได้ตั้งโรงเรียนขึ้นมาเอง การโต้วาทีเรื่องการเมืองนั้นเป็นสิ่งที่ครอบครัวเขาทำเป็นประจำ เมื่อตอนเขาเด็กๆเด็ก ๆ พ่อของเขาก็ได้แนะนำนักเขียนผู้ซึ่งเป็นพวกอนุรักษ์นิยมอยู่เป็นประจำ ครอบครัวเขาเป็นครอบครัวที่มีความเป็นชาตินิยม เขาเติบโตมาด้วยความศรัทธาที่มีต่อชาติของตนเอง
 
ครอบครัวเขาเป็นพวกจารีตนิยม อนุรักษ์นิยมและยังสนับสนุนการปกครองในระบอบราชาธิบไตย แต่ถึงกระนั้นครอบครัวเขาก็ได้ยึดถือกฎหมายและเคารพสาธารณรัฐเป็นอย่างดี มุมมองทางการเมืองของพวกเขายังออกไปแนวเสรีนิยมอีกด้วย
เส้น 56 ⟶ 54:
== สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ==
 
ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ได้เลือกที่จะใช้ชีวิตเป็นทหารอาชีพ และเขาก็ได้เรียนที่โรงเรียนเตรียมทหารพิเศษแห่งแซงต์แซ็ง-ซีร์ (École spéciale militaire de Saint-Cyr) เป็นเวลากว่า 4 ปี และได้เข้าร่วมกองทหารราบ แทนที่จะเลือกหน่วยทหารหัวกะทิ
 
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้สิ้นสุดลง ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ยังคงอยู่ในกองทัพ เป็นนายทหารของพลเอก Maxime Weygand และพลเอกฟิลีปฟีลิป เปแตงเปแต็ง อย่างต่อเนื่อง ในระหว่างสงครามโปลิช-โซเวียต ([[พ.ศ. 2462]] - [[พ.ศ. 2464]]) เขาได้อาสาเข้าไปเป็นสมาชิกของหน่วยภารกิจทหารฝรั่งเศสเพื่อโปแลนด์ และได้เป็นครูฝึกทหารราบให้แก่กองทัพโปแลนด์ ต่อมาเขาได้แยกตัวออกเพื่อที่จะเข้าร่วมภารกิจใกล้ๆใกล้ ๆ แม่น้ำ Zbrucz (บริเวณ[[ประเทศยูเครน]])และได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารอันสูงสุดของโปแลนด์นั่นก็คือ เครื่องอิสริยาภรณ์ Virtuti Militari
 
เขายังได้เลื่อนขั้นเป็นผู้บังคับบัญชาหน่วยและยังได้ข้อเสนอให้ทำงานต่อที่[[ประเทศโปแลนด์]] แต่เขากลับเลือกที่จะกลับมาทำงานใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] และได้เป็นนายทหารเสนาธิการและได้สอนที่โรงเรียนเตรียมทหาร (École Militaire) เป็นผู้อยู่ในอุปถัมภ์ของผู้บังคับบัญชาคนเก่าของเขา คือ พลเอก[[พลเอกฟิลีปฟีลิป เปแตงเปแต็ง|ฟิลีปฟีลิป เปแตงเปแต็ง]] ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลนั้นได้รับอิทธิพลจากสงครามโปลิช-โซเวียตเป็นอย่างมากด้วยการใช้รถถัง เคลื่อนพลอย่างรวดเร็ว และการทำสงครามในสนามเพลาะ เขายังได้เรียนรู้บางสิ่งบางอย่างเพื่ออนาคตทางทหารและการเมืองของเขาจากจอมพล Józef Piłsudski แห่ง[[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] ในเรื่องการก่อตั้งสหภาพยุโรป
[[ไฟล์:Charles_de_Gaulle_1943_Tunisia.jpg|right|thumb|นายร้อย ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล]]
ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลได้เห็นขอแตกต่างระหว่างสงครามโปลิช-โซเวียตและ[[สงครามโลกครั้งที่ 1]] เป็นอย่างมากโดยเฉพาะในด้านประสบการณ์ ซึ่งเขาก็ได้ออกหนังสือหลายเล่มที่เกี่ยวกับการจัดการการทหารโดยเฉพาะเล่มที่ชื่อว่า ไปสู่ทหารอาชีพ (Vers l'Armée de Métier) ที่เขาได้เสนอองค์ประกอบของทหารที่มีประสิทธิภาพพร้อมกับหน่วยทหารติดอาวุธ และเหนือกว่านั้นคือแนวคิดที่เป็นตัวอย่างที่เห็นได้ชัดคือ แนวกำแพงมาชิโนต์ (Maginot Line)
 
แนวคิดเดียวกันนี้ได้ก้าวหน้าไปโดย:
 
* พลตรี จอห์น เฟรเดอริค ชาร์ลส์ชาร์ล ฟูลเลอร์ (J. F. C. Fuller) ชาวอังกฤษ
* Heinz Guderian นักทฤษฎีทางทหารชาวเยอรมัน
* ประธานาธิบดี[[ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์|ไอเซนฮาวร์]]แห่ง[[สหรัฐอเมริกา]]
เส้น 73 ⟶ 71:
* พลเอก Władysław Sikorski นายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐโปแลนด์
 
แต่ถึงกระนั้นแนวคิดของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลก็ได้ถูกปฏิเสธจากทหารคนอื่นๆอื่น ๆ โดยเฉพาะพลเอกพิลีป เปแตงเปแต็ง ทำให้ความสัมพันธ์ของทั้งตึงเครียดขึ้น นักการเมืองฝรั่งเศสเองก็ไม่เห็นด้วยกับแนวคิดนี้ ทำให้เป็นที่สงสัยในความน่าเชื่อถือของทหารอาชีพต่อนักการเมือง ยกเว้น Paul Reynaud ที่จะมีบทบาทสำคัญต่อชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล
 
เดอ โกลล์โกล เองก็ได้ติดต่อกับ Ordre Nouveau (New Order) ในช่วงปลายปี [[พ.ศ. 2477]] ถึงต้นปี [[พ.ศ. 2478]] ซึ่งเป็นกลุ่มการเมืองที่ต้องการการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในปัญหาเรื่องเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งแนวคิดทางการเมืองของกลุ่มนี้อยู่ในปีกฝ่ายขวา และต้องการที่จะสร้างทางที่ 3 ขึ้นมาระหว่างสังคมนิยมกับทุนนิยม และต่อต้านเสรีนิยม รัฐสภานิยม ประชาธิปไตย และฟาสซิสต์
 
เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ปะทุขึ้น ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลมียศเพียงแค่ ''พันเอก'' และเขาก็ได้เป็นปฏิปักษ์ต่อผู้นำทางทหารตั้งแต่ต้นประมาณปี [[พ.ศ. 2463]] มาเรื่อยๆเรื่อย ๆ ต่อมากองทัพเยอรมันได้ยาตราทัพเข้าตีเมืองเซอดังในวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2483]] เขาก็เลยได้เป็นผู้บังคับการ กองทหารรถถังที่ 4
 
ในวันที่ [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2483]] เขาได้โจมตีรถถังเยอรมันบริเวณ Montcornet ด้วยรถถังเพียง 200 คันและไม่มีกำลังทางอากาศสนับสนุนซึ่งทำได้เพียงต่อต้านการรุกคืบหน้าของกองทัพเยอรมันเท่านั้นเอง ต่อมาในวันที่ [[28 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2483]] เขาได้โจมตีกองทหารราบของเยอรมัน จนถอยไปถึง Caumont และนี่ก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจเพราะเป็นยุทธวิธีไม่กี่วิธีที่ทำให้ฝรั่งเศสมีชัยต่อกองทัพเยอรมันในเวลานั้น ซึ่งนายกรัฐมนตรี[[ปอล เรย์โนด์]] ได้แต่งตั้งให้เขาเป็นผู้บังคับกองพัน หรือที่เรียกว่า Général de brigade ซึ่งทำให้เขาเป็นที่เรียกว่า Général de Gaulle ในเวลาต่อมา
เส้น 83 ⟶ 81:
วันที่ [[6 มิถุนายน]] [[ปอล เรย์โนด์]] ได้แต่งตั้งเขาเป็นปลัดกระทรวงกลาโหมและสงคราม และให้เขาดูแลเรื่องการประสานงานกับ[[สหราชอาณาจักร]] ในฐานะที่เขาเป็นคนใหม่ในรัฐบาลฝรั่งเศส เขาล้มเหลวในการต่อต้านการยอมแพ้ของฝรั่งเศส และการสนับสนุนในการย้ายรัฐบาลไปยังแอฟริกาเหนือและต่อสู้กับกองทัพเยอรมันให้ถึงที่สุดจากเมืองขึ้นฝรั่งเศส เขาได้รับตำแหน่งนายทหารประสานงานกับสหราชอาณาจักรและเขาก็ได้เสนอ[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]] ในการรวมประเทศฝรั่งเศสเข้ากับสหราชอาณาจักรเป็นประเทศเดียวกัน ด้วยทหารและรัฐบาลเดียวกันในระหว่างสงครามนี้ ซึ่งเป็นข้อเสนอสุดท้ายเพื่อชาวฝรั่งเศสที่ต้องการจะสู้ในสงครามต่อไป ในวันที่ [[16 มิถุนายน]] ใน[[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]]
 
เขาได้ขึ้นเครื่องบินกลับไปยังบอร์กโดซ์ (รัฐบาลเฉพาะกาลของสาธารณรัฐฝรั่งเศส)ในบ่ายวันเดียวกัน และเพิ่งได้ข่าวว่า[[ฟิลิป เปแตงเปแต็ง]] ได้เป็นนายกรัฐมนตรีพร้อมกับความคิดที่จะสงบศึกกับเยอรมนี
 
วันนั้นเองที่เขาได้ตัดสินใจในสิ่งที่สำคัญที่สุดในชีวิตของเขาและประวัติศาสตร์สมันใหม่ของฝรั่งเศสนั่นคือการประกาศไม่ยอมรับการยอมแพ้ของฝรั่งเศสและยังได้ต่อต้านกฎหมายของรัฐบาลของ[[ฟิลิป เปแตงเปแต็ง|เปแตงเปแต็ง]] (ซึ่งในมุมมองของเขาคือกฎหมายที่ไม่ชอบธรรม) และได้ประกาศทำสงครามต่อกับ[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ต่อมาในวันที่ [[17 มิถุนายน]] เขาได้หลบหนีออกจากบอร์กโดซ์พร้อมกับทองคำ 100,000 ฟรังก์ซึ่งเป็นเงินลับที่ [[ปอล เรย์โนด์]] ได้ให้เขาในคืนก่อน เขาหนีรอดอย่างหวุดหวิดจากเครื่องบินรบเยอรมันและถึงกรุงลอนดอนในบ่ายวันนั้น เดอ โกลล์โกลได้ปฏิเสธการยอมจำนนของประเทศฝรั่งเศสและเตรียมพร้อมในการเคลื่อนไหวเพื่อที่จะต่อสู่กับเยอรมนี ดังนั้นการเกิดสงครามกลางเมืองฝรั่งเศสก็สามารถปะทุขึ้นได้ทุกเวลา ยุค[[วิชีฝรั่งเศส]]ที่อยู่ข้างฝ่ายอักษะได้ก่อกำเนิดแล้ว จะต้องต่อสู้กับ[[แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส]]นำโดยชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลที่ปฏิเสธและต่อต้านการสงบศึก
 
== สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2: แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส ==
 
[[ไฟล์:HD-SN-99-02715.JPEG|right|thumb|ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง]]
 
[[ไฟล์:De Gaulle-OWI.jpg|right|thumb|ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ประมาณปี [[พ.ศ. 2485]]]]
 
ในวันที่ [[18 มิถุนายน]] เดอ โกลล์โกล เตรียมตัวที่ปราศัยปราศรัยแก่คนฝรั่งเศสผ่านทางวิทยุ BBC ใน[[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]] คณะรัฐมนตรีของอังกฤษได้พยายามบล็อกคำปราศรัยครั้งนั้นแต่[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]]ก็ได้ยับยั้งมติคณะรัฐมนตรีไว้ได้ ในประเทศฝรั่งเศส เดอ โกลล์โกล ''คำอุทธรณ์ [[18 มิถุนายน]] (Appel du 18 Juin)'' น่าจะเป็นที่ได้ยินของคนทั้งชาติในเย็นวันนั้น แต่ในความจริงแล้วมีเพียงเล็กน้อยที่ได้ยินเท่านั้น เดอ โกลล์โกลยังไม่เป็นที่รู้จักกันในประเทศฝรั่งเศสเวลานั้น และคำปราศรัยของเขานั้นเป็นเหมือนความเพ้อฝันเสียมากกว่า วลีที่ว่า '''ฝรั่งเศสแพ้จากการรบ แต่ยังมิได้แพ้สงคราม''' นั้นได้พบอยู่บนโปสเตอร์ทั่วสหราชอาณาจักร และถูกโยงไปอย่างผิดๆผิด ๆ ว่าเป็นส่วนหนึ่งของคำปราศรัยทาง BBC แต่อย่างไรก็ตามวลีดังกล่าวก็ได้เห็นความตั้งใจแน่วแน่ของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล เขาเองมีส่วนร่วมในการต่อต้านการบุกรุกของเยอรมันและได้ประกาศว่า '''ไฟการต่อต้านของฝรั่งเศสจะไม่ดับลง''' แต่ เดอ โกลล์โกลก็ได้อ้างถึงการต่อต้านของทหารแต่เมื่อทหารชาวฝรั่งเศสส่วนมากนึกได้ว่าตนเองไม่มีปัจจัยใดๆใด ๆ ที่สามารถชนะสงครามได้แล้ว จึงต่อต้านศีลธรรมแทน ทำให้เดอ โกลล์โกล มีความผิดหวังอยู่ไม่น้อยเหมือนกัน
 
มีชาวฝรั่งเศสไม่มากนักที่ได้ยินคำปราศรัยของเดอ โกลล์โกลในวันนั้นเพราะวิทยุ BBC ไม่ใคร่จะเป็นที่ได้ยินในประเทศฝรั่งเศสและชาวฝรั่งเศสกว่าล้านคนเป็นผู้ลี้ภัยด้วยซ้ำไป อย่างไรก็ตามใจความสำคัญของคำปราศรัยครั้งนั้นได้ถูกตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศสในวันต่อมาบริเวณทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส (ซึ่งยังมิได้โดนยึด) และคำปราศรัยนั้นยังได้เปิดซ้ำไปซ้ำมาเป็นเวลาหลายวันทาง BBC และ เดอ โกลล์โกล เองก็ได้ปราศรัยเรื่อยๆเรื่อย ๆ ในเวลาต่อมา
 
คำปราศรัยของเดอ โกลล์โกลในวันที่ [[22 มิถุนายน]]ทาง BBC สามารถฟังได้ที่[http://www.charles-de-gaulle.org/dossier/18juin/temoignages/son22j.htm นี่] หรือใจความสำคัญของคำปราศรัยอื่นๆอื่น ๆ และสำเนาโปสเตอร์ตั้งแต่ [[มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2483]] หาได้จากที่[http://www.ump-vlb.org/general/deGaulle.htm นี่]
 
ในไม่ช้า ท่ามกลางความวุ่นวาย งุนงง และความยุ่งเหยิงของประเทศฝรั่งเศส ข่าวที่ว่ามีนายพลชาวฝรั่งเศสที่อยู่ใน[[ลอนดอน|กรุงลอนดอน]]ได้ปฏิเสธที่จะยอมแพ้หรือสงบศึกกับเยอรมนีและได้ประกาศว่าสงครามยังดำเนินต่อไป ได้กระจายจากปากสู่ปาก และจนวันนี้คำปราศรัยของเขานั้นเป็นที่จดจำและโด่งดังที่สุดอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์ฝรั่งเศส
 
ใน[[ลอนดอน]] ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ได้ก่อตั้งและดำเนินการ[[แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส]] ในขณะที่สหรัฐอเมริกาให้การยอมรับรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสแต่สหราชอาณาจักร รัฐบาลของ[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]]ให้การสนับสนุนชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ทั้งๆทั้ง ๆ ที่รักษาระดับความสัมพันธ์กับรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสอยู่
 
ในวันที่ [[4 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2483]] ศาลทหารในเมืองตูลูสลูซ ได้ตัดสินให้ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล (โดยที่เจ้าตัวไม่อยู่) จำคุกเป็นเวลา 4 ปี และการตัดสินครั้งที่ 2 ในวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2483 ได้ตัดสินลงโทษประหารชีวิต เนื่องจากทรยศและทำการกบฏต่อรัฐบาล[[วิชีฝรั่งเศส]]
 
ในการปฏิบัติต่อสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกานั้น เขายืนหยัดตลอดเวลาในการยืนหยัดสิทธิเสรีภาพในฐานะตัวแทนคนฝรั่งเศส แต่บ่อยครั้งที่เขาถูกฝ่ายสัมพันธมิตรลืม เขาอาศัยอยู่ด้วยความระแวงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต่อสหราชอาณาจักรเพราะเขาเชื่อว่าสหราชอาณาจักรพยายามหาทางที่จะยึดเอาเลอวองต์จากฝรั่งเศสอย่างลับๆลับ ๆ เคลมองทีน เชอร์ชิลเชอร์ชิลล์ ภรรยาเซอร์วินสตัน เชอร์ชิลเชอร์ชิลล์ ผู้ซึ่งชื่นชมในตัวเดอ โกลล์โกล ได้เคยเตือนเขาไว้ว่า '''อย่าเกลียดพันธมิตรมากกว่าศัตรู''' แต่เดอ โกลล์โกลก็ได้ตอบกลับไปว่า '''ฝรั่งเศสไม่มีเพื่อน มีแต่หุ้นส่วน'''
 
อย่างไรก็ตามสถานการณ์ดังกล่าวมีความซับซ้อน เดอ โกลล์โกลเองก็ไม่ไว้วางใจจุดประสงค์ของสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา เนื่องจากนักการเมืองระดับสูงของสหรัฐอเมริกานั้นไม่ไว้วางใจแนวร่วมปลดปล่อยฝรั่งเศสของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล และเป็นประเทศหนึ่งที่ปฏิเสธในการยอมรับแนวร่วมปลดปล่อยฝรั่งเศสและชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลในฐานะตัวแทนประเทศฝรั่งเศส ในทางกลับกัน สหรัฐอเมริกาก็ยังได้ให้การยอมรับรัฐบาลวิชีฝรั่งเศสแทน
 
หลายครั้งที่คนได้วิจารณ์การทำงานร่วมกันของเดอ โกลล์และเชอร์ชิลอย่างผิดๆโกลและเชอร์ชิลล์อย่างผิด ๆ เช่น "จากไม้กางเขนทั้งหมดที่ข้าพเจ้าดูแล ไม้กางเขนแห่งลอร์เรนน์เป็นลอแรนป็นสิ่งที่ทำให้ข้าพเจ้าหนักใจเป็นที่สุด" (ไม้กางเขนแห่งลอร์เรนน์เป็นสัญลักษณ์ของลอแรนป็นสัญลักษณ์ของ[[แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส]]) ซึ่งคำเหน็บแหนมดังกล่าว แท้จริงแล้ว ทูตอังกฤษที่ส่งไปยังฝรั่งเศส พลตรี เซอร์ หลุยส์ สเปียร์ส์สเปียส์ เป็นคนพูดต่างหาก
 
บางครั้งในภาวะตึงเครียด กล่าวกันว่า เชอร์ชิลเชอร์ชิลล์ได้เคยพูดเป็นภาษาฟรองเกลซ์ฟร็องแกล (''ภาษาฝรั่งเศส + ภาษาอังกฤษ / français + anglais'') ว่า '''Si vous ne co-operatez, je vous obliterai''' ซึ่งแปลว่า '''ถ้าคุณไม่ให้ความร่วมมือ ผมจะทำลายคุณซะ'''
 
เขาได้ทำงานร่วมกับกลุ่มการต่อต้านของฝรั่งเศสและผู้สนับสนุนการครอบครองเมืองขึ้นฝรั่งเศสบริเวณแอฟริกา ต่อมาหลังภารกิจ Operation Torch ที่ทหารอังกฤษและอเมริกันยกพลบุกเมืองขึ้นฝรั่งเศสในแอฟริกาเหนือในเดือน[[พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2485]] (เมืองขึ้นฝรั่งเศสขณะนั้นภายใต้รัฐบาลวิชีฝรั่งเศส) ชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกลได้ย้ายกองบัญชาการไปยัง[[อัลเจียร์แอลเจียร์|เมืองอัลเจียร์แอลเจียร์]] [[ประเทศแอลจีเรีย]]ในเดือน[[พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2486]] หลังจากนั้นเดอ โกลล์โกลก็ได้เป็นประธานร่วม (ร่วมกับพลเอกอองรีอ็องรี ชีโรด์ ซึ่งสหรัฐอเมริกาให้การสนับสนุน) และภายหลังเป็นประธานคณะกรรมมาธิการปลดปล่อยแห่งชาติ (คนเดียว)
 
ระหว่างภารกิจการปลดปล่อยฝรั่งเศสนั้น ทหารอังกฤษและอเมริกันก็ได้ยกพลขึ้นผืนแผ่นดินใหญ่ที่ประเทศฝรั่งเศสในภารกิจ Operation Overlord หรือเป็นที่คุ้นหูในนาม "การรบแห่งนอร์มังดีนอร์ม็องดี" เดอ โกลล์ก็สถาปนาโกลก็สถาปนา[[แนวร่วมการปลดปล่อยฝรั่งเศส]]ในผืนแผ่นดินใหญ่ฝรั่งเศส หลีกเลี่ยง '''รัฐบาลทหารสัมพันธมิตรเพื่อครอบครองดินแดน (AMGOT)''' เขาได้นั่งเครื่องบินจาก[[แอลจีเรีย|ประเทศแอลจีเรีย]]มายังฝรั่งเศสก่อนการเป็นเสรีภาพของ[[ปารีส|กรุงปารีส]] และได้เคลื่อนที่เข้าไปบริเวณแนวหน้าใกล้ๆใกล้ ๆ เมืองหลวงพร้อมกับทหารสัมพันธมิตร เขาได้กลับไปยัง[[กรุงปารีส]]ในไม่ช้า และก็ได้กลับเข้าทำงานในกระทรวงระหว่างสงคราม และก็ได้ประกาศว่าสาธารณรัฐที่ 3 ยังคงอยู่ต่อไปและปฏิเสธการปกครองของวิชีฝรั่งเศส
 
เดอ โกลล์โกลได้เป็นประธาน[[คณะรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส]] (GPRF) เริ่มในเดือน[[กันยายน]] [[พ.ศ. 2487]] เขาได้ส่งหน่วยปฏิบัติการฝรั่งเศสนอกประเทศแห่งตะวันออกไกล (Corps Expéditionnaire Français en Extrême-Orient, CEFEO) เพื่อที่จะสถาปนาอำนาจในภูมิภาคอินโดจีนฝรั่งเศสขึ้นใหม่ในปี [[พ.ศ. 2488]] และได้แต่งตั้งพลเรือเอกดาร์ชองลีอู เป็นผู้บัญชาการอินโดจีนฝรั่งเศส และจอมพลเลอเคลิร์กเป็นผู้บัญชาการสูงสุดในอินโดจีนฝรั่งเศสและบังคับบัญชาหน่วยปฏิบัติการฝรั่งเศสนอกประเทศแห่งตะวันออกไกล
 
ภายใต้การนำของชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล ผู้ที่ได้ทำการต่อต้านและต่อสู้เพื่อฝรั่งเศสมาก่อนหน้านี้แล้วนั้น (ส่วนมากเป็นทหารจากเมืองขึ้นฝรั่งเศส) สามารถเคลื่อนกองทัพๆกองทัพ ๆ หนึ่งของฝรั่งเศสในบริเวณแนวตะวันตกได้ โดยการกระทำภารกิจยกพลขึ้นทางตอนใต้ของฝรั่งเศส (Operation Dragoon) ซึ่งสามารถทำให้ 1 ใน 3 ของประเทศฝรั่งเศสเป็นเสรีจากกองทัพเยอรมันได้ ทหารกลุ่มนี้เรียกว่า '''กองทัพฝรั่งเศสกลุ่มแรก''' ทำให้กองทัพฝรั่งเศสนั้นได้เข้าร่วมในการต่อสู้กับเยอรมนีทางทหารพร้อมเพรียงกับทหารอังกฤษโดยปริยาย และยังได้ยึดดินแดนที่กองทัพเยอรมันครอบครองไว้คืนมาอีกด้วย และนี่ส่งผลไปถึงการที่ฝรั่งเศสมีส่วนร่วมในสนธิสัญญาการยอมแพ้ของ[[เยอรมนี]]ด้วย มากกว่านั้นฝรั่งเศสยังมีโอกาสที่จะควบคุม 1 ใน 4 ส่วนของประเทศเยอรมนีหลังสงครามอีกด้วย (พร้อมกับ [[สหราชอาณาจักร]] [[รัสเซีย]] และ[[สหรัฐอเมริกา]])
 
เดอ โกลล์โกลได้ลาออกเมื่อวันที่ [[20 มกราคม]] [[พ.ศ. 2489]] ด้วยการตำหนิว่าพรรคการเมืองต่างๆต่าง ๆ ว่ามีความขัดแย้งกันเองและไม่รับรอง[[รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4]] ซึ่งเขาเชื่อว่า รัฐธรรมนูญฉบับนี้ให้อำนาจรัฐสภามากเกินไป พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงพันธมิตรของพรรคการเมือง คนที่ได้รับตำแหน่งต่อจากเขาคือ [[เฟลิกซ์ กูแอง]] (SFIO), ต่อมาคือ [[จอร์จฌอร์ฌ บิโดต์บีโด]] (MRP) และสุดท้ายคือ [[เลอง บลังม์บลูม]] (SFIO)
 
== อ้างอิง ==
 
* [http://sources.wikipedia.org/wiki/France,_présidentielle_1965 การเลือกตั้งประธานาธิบดีฝรั่งเศส ค.ศ. 1965]
* [http://www.charles-de-gaulle.org มูลนิธิและสถาบันชาร์ลส์ชาร์ล เดอ โกลล์โกล]
* [http://perso.wanadoo.fr/wwii/europe/france/biographie/degaulle.htm บรรณานุกรมอย่างละเอียด]
* [http://gaullisme.free.fr ศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับลัทธินิยมเดอโกลล์อโกล]
* [http://www.emdx.org/DeGaulle การปลดปล่อยมณฑลควิเบ็ก]
 
เส้น 139 ⟶ 137:
|ตำแหน่ง = [[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = [[เรอเน โกตี้กอตี]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[อแลงอาแล็ง โปเอร์ปอแอร์]]<br /><small>(รักษาการ)</small>
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2502]] – [[พ.ศ. 2512]]
เส้น 152 ⟶ 150:
|ตำแหน่ง = [[ผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา]]<br />ร่วมกับ [[รามน อิกเลเซียส อี นาวาร์รี]]
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = [[เรอเน โกตี้กอตี]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[อแลงอาแล็ง โปเอร์ปอแอร์]]<br /><small>(รักษาการ)</small>
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2502]] – [[พ.ศ. 2512]]
เส้น 165 ⟶ 163:
|ตำแหน่ง = [[รายนามประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส|ประธานคณะรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]
|จำนวนตำแหน่ง = 2
|ก่อนหน้า = [[ฟิลิปป์ฟีลิป เปแต็ง]]<br /><small>([[ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส|ประมุขแห่งรัฐฝรั่งเศส]])</small>
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[เฟลิกซ์ กูแอ็ง]]
เส้น 191 ⟶ 189:
|ตำแหน่ง = [[ผู้ปกครองร่วมแห่งอันดอร์รา]]<br />ร่วมกับ [[รามน อิกเลเซียส อี นาวาร์รี]]
|จำนวนตำแหน่ง =
|ก่อนหน้า = [[ฟิลิปป์ฟีลิป เปแต็ง]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[เฟลิกซ์ กูแอ็ง]]
เส้น 206 ⟶ 204:
|ก่อนหน้า = [[ปีแอร์ ฟลิมแล็ง]]
|จำนวนก่อนหน้า =
|ถัดไป = [[มิมีแชล เดอเบร]]<br /><small>([[นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส|นายกรัฐมนตรี]])</small>
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = [[1 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2501]] - [[8 มกราคม]] [[พ.ศ. 2502]]}}