ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอบ้านโฮ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
| name = บ้านโฮ่ง
เส้น 17 ⟶ 16:
}}
 
'''อำเภอบ้านโฮ่ง''' เป็น[[อำเภอ]]หนึ่งใน[[จังหวัดลำพูน]] อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 40 กิโลเมตร แยกออกเป็นกิ่งอำเภอ เมื่อปี พ.ศ. 2460 และยกฐานะเป็นอำเภอในปี [[พ.ศ. 2499]]
 
== ความเป็นมา ==
 
อำเภอบ้านโฮ่ง เดิมมีฐานะเป็นตำบลขึ้นกับ[[อำเภอป่าซาง]] แยกเป็นกิ่งอำเภอบ้านโฮ่ง เมื่อปี พ.ศ. 2460 และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2499 ในสมัย[[พระเจ้ากาวิละ]]ฟื้นฟูบ้านเมืองได้กวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองและเมืองใกล้เคียงมาไว้ที่เมืองลำพูน โดยตั้งเมืองลำพูนขึ้นใหม่ใน [[พ.ศ. 2348]] ส่วนทางเมืองยองเองเจ้านายของเมืองยองก็ไม่คิดขึ้นกับล้านนาแต่ยังยินยอมสวามิภักดิ์กับพม่าพาผู้คนจำนวนหนึ่งกลับไปตั้งเมืองใหม่เป็นเมืองยองสืบต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน ในการฟื้นฟูเชียงใหม่นั้นพระเจ้ากาวิละได้เทครัวคนจากเมืองอื่นๆมาหลายครั้ง สำหรับชาวยองมีการเทครัวลงมาจากเมืองยองราว พ.ศ. 2351-2353 และ พ.ศ. 2356 หลังจากนั้นก็ยังมีอีกแต่ไม่เด่นชัด
 
การอพยพผู้คนมายัง[[ล้านนา]] พวกเจ้าก็จะให้อยู่ในเมืองพร้อมไพร่ที่คอยรับใช้บางส่วน ไพร่ที่ถูกกวาดต้อนมา หากเป็นช่างฝีมือหรือไพร่ชั้นดีกำหนดให้อยู่ในเมือง เช่น กลุ่มไทใหญ่มีฝีมือในการปั้นหม้อให้อยู่บริเวณ ช้างเผือก ช้างม่อย วัวลาย (ในตัวเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน) ส่วนไพร่ไร้ฝีมือจะให้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่นอกเมืองเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น ยองที่ลำพูนและสันกำแพง เมื่อตั้งถิ่นฐานแล้วสักระยะหนึ่งชุมชนขยายใหญ่ขึ้นก็เกิดการกระจายตัวออกจากเวียงยองสู่ป่าซางและบ้านโฮ่ง พวกที่มาตั้งถิ่นฐานใหม่จะตั้งชื่อบริเวณที่ตนมาอยู่อาศัยใหม่ตามชื่อหมู่บ้านเดิมที่ถูกกวาดต้อนลงมา แต่บางแห่งก็ตั้งชื่อตามลักษณะทางกายภาพของทำเลที่ตั้งใหม่ (<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล '''ประวัติศาสตร์ล้านนา''' กรุงเทพฯ: อมรินทร์ 2551)</ref>
 
==ที่ตั้งและอาณาเขต==
 
อำเภอบ้านโฮ่งตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[อำเภอเวียงหนองล่อง]]
เส้น 43 ⟶ 49:
== การปกครองส่วนท้องถิ่น ==
ท้องที่อำเภอบ้านโฮ่งประกอบด้วย[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]] 6 แห่ง ได้แก่
* '''[[เทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง]]''' ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลบ้านโฮ่ง
* '''[[เทศบาลตำบลศรีเตี้ย]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลศรีเตี้ยทั้งตำบล
* '''[[เทศบาลตำบลเวียงกานต์]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบ้านโฮ่ง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลบ้านโฮ่ง)
* '''[[เทศบาลตำบลป่าพลู]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลป่าพลูทั้งตำบล
* '''[[เทศบาลตำบลเหล่ายาว]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเหล่ายาวทั้งตำบล
* '''[[องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลาสะวาย]]''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองปลาสะวายทั้งตำบล
 
<br>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อำเภอลำพูน}}
 
[[หมวดหมู่:อำเภอบ้านโฮ่ง]]
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดลำพูน|บ้านฮ่]]
{{โครงจังหวัด}}
 
ประวัติความเป็นมาของอำเภอบ้านโฮ่ง
 
ปัจจุบันอยู่ห่างจากจังหวัดลำพูนประมาณ 40 กม. เดิมเป็นตำบลบ้านโฮ่ง ขึ้นกับอำเภอป่าซาง แยกเป็นกิ่งอำเภอบ้านโฮ่ง เมื่อปีพ.ศ. 2460 และได้รับการยกฐานะเป็นอำเภอ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2499 การศึกษาของอาจารย์สรัสวดี ที่ได้มาจากการค้นคว้าเอกสารจำพวกพับสา ใบลาน และการสัมภาษณ์ ก็พอจะชี้ให้เห็นอยู่บ้างว่า ชาวยองในลำพูนและที่อำเภอบ้านโฮ่งในปัจจุบันมีความเป็นมาอย่างไร
ในสมัยพระเจ้ากาวิละฟื้นฟูบ้านเมืองได้กวาดต้อนผู้คนจากเมืองยองและเมืองใกล้เคียงมาไว้ที่เมืองลำพูน โดยตั้งเมืองลำพูนขึ้นใหม่ใน พ.ศ. 2348 ส่วนทางเมืองยองเองเจ้านายของเมืองยองก็ไม่คิดขึ้นกับล้านนาแต่ยังยินยอมสวามิภักดิ์กับพม่าพาผู้คนจำนวนหนึ่งกลับไปตั้งเมืองใหม่เป็นเมืองยองสืบต่อมาจนกระทั่งปัจจุบัน ในการฟื้นฟูเชียงใหม่นั้นพระเจ้ากาวิละได้เทครัวคนจากเมืองอื่นๆมาหลายครั้ง สำหรับชาวยองมีการเทครัวลงมาจากเมืองยองราว พ.ศ. 2351-2353 และ พ.ศ. 2356 หลังจากนั้นก็ยังมีอีกแต่ไม่เด่นชัด
การอพยพผู้คนมายังล้านนา พวกเจ้าก็จะให้อยู่ในเมืองพร้อมไพร่ที่คอยรับใช้บางส่วน ไพร่ที่ถูกกวาดต้อนมา หากเป็นช่างฝีมือหรือไพร่ชั้นดีกำหนดให้อยู่ในเมือง เช่น กลุ่มไทใหญ่มีฝีมือในการปั้นหม้อให้อยู่บริเวณ ช้างเผือก ช้างม่อย วัวลาย (ในตัวเมืองเชียงใหม่ปัจจุบัน) ส่วนไพร่ไร้ฝีมือจะให้ไปตั้งถิ่นฐานอยู่นอกเมืองเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น ยองที่ลำพูนและสันกำแพง เมื่อตั้งถิ่นฐานแล้วสักระยะหนึ่งชุมชนขยายใหญ่ขึ้นก็เกิดการกระจายตัวออกจากเวียงยองสู่ป่าซางและบ้านโฮ่ง พวกที่มาตั้งถิ่นฐานใหม่จะตั้งชื่อบริเวณที่ตนมาอยู่อาศัยใหม่ตามชื่อหมู่บ้านเดิมที่ถูกกวาดต้อนลงมา แต่บางแห่งก็ตั้งชื่อตามลักษณะทางกายภาพของทำเลที่ตั้งใหม่ (สรัสวดี อ๋องสกุล ประวัติศาสตร์ล้านนา กรุงเทพฯ: อมรินทร์ 2551)
 
[[bpy:আম্ফোয়ে বান হোং]]