ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาสนวิหารอาเมียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: sv:Notre-Dame d'Amiens; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
|ชื่ออังกฤษ=Amiens Cathedral
|ชื่อฝรั่งเศส=Cathédrale d'Amiens
|ชื่อสเปน=Catedral de Amiens
|ชื่อเยอรมัน= Kathedrale von Amiens
|ชื่ออิตาลี=
|ชื่อรัสเซีย=
บรรทัด 26:
|ลิงก์= http://whc.unesco.org/en/list/162/ องค์การยูเนสโก
}}
 
[[ไฟล์:Amiens cathedral 008.JPG|thumb|250px|รูปสลักนักบุญด้านหน้ามหาวิหาร]]
'''มหาวิหารอาเมียง''' ([[ภาษาฝรั่งเศส]]: Cathédrale Notre{{lang-Dame d'Amiens; [[ภาษาอังกฤษ]]: en|Amiens Cathedral}}) มีชื่อเต็มว่า '''กาเตดราลนอเทรอ-ดามดาเมียง''' ({{lang-fr|Cathédrale Notre-Dame d'Amiens” หรือในภาษาอังกฤษว่า “Cathedral of Our Lady of Amiens”Amiens}} เป็น[[มหาวิหาร]]ที่สูงที่สุดใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] มีเนื้อที่ภายในกว้างใหญ่ถึง 200,000 ตารางเมตร หลังคาโค้ง[[สถาปัตยกรรมกอธิค|กอธิค]]สูง 42.30 เมตรซึ่งเป็นหลังคากอธิคที่สูงที่สุดในฝรั่งเศส ตัวมหาวิหารตั้งอยู่ที่เมือง[[อาเมียง]] ซึ่งเป็นเมืองสำคัญของพิคาร์ดี (Picardy) [[แคว้นปีการ์ดี]]ในหุบเขาซอม (Somme) อยู่เหนือจากกรุง[[ปารีส]]ประมาณ 100 กิโลเมตร
 
'''มหาวิหารอาเมียง''' ([[ภาษาฝรั่งเศส]]: Cathédrale Notre-Dame d'Amiens; [[ภาษาอังกฤษ]]: Amiens Cathedral) มีชื่อเต็มว่า “Cathédrale Notre-Dame d'Amiens” หรือในภาษาอังกฤษว่า “Cathedral of Our Lady of Amiens” เป็น[[มหาวิหาร]]ที่สูงที่สุดใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] มีเนื้อที่ภายในกว้างใหญ่ถึง 200,000 ตารางเมตร หลังคาโค้ง[[สถาปัตยกรรมกอธิค|กอธิค]]สูง 42.30 เมตรซึ่งเป็นหลังคากอธิคที่สูงที่สุดในฝรั่งเศส ตัวมหาวิหารตั้งอยู่ที่เมืองอาเมียงซึ่งเป็นเมืองสำคัญของพิคาร์ดี (Picardy) ในหุบเขาซอม (Somme) อยู่เหนือจาก[[ปารีส]]ประมาณ 100 กิโลเมตร
 
== ประวัติ ==
ด้านหน้าวัดสร้างรวดเดียวเสร็จ--ระหว่างปี ค. ศ. 1220 ถึงปี ค. ศ. 1236-- ลักษณะจึงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ตอนล่างสุดของด้านหน้าวัดเป็นประตูเว้าลึกใหญ่สามประตู เหนือระดับประตูขึ้นไปชั้นหนึ่งเป็นหินสลักขนาดใหญ่กว่าคนจริงของพระเจ้าแผ่นดิน 22 พระองค์เรียงเป็นแนวตลอดด้านหน้ามหาวิหารภายใต้[[หน้าต่างกุหลาบ]] สองข้างด้านหน้าประกบด้วยหอใหญ่สองหอ หอด้านใต้สร้างเสร็จเมื่อปี ค. ศ. 1366 หอทางทิศเหนือสร้างเสร็จ 40 ปีต่อมาเมื่อปี ค. ศ. 1406 และเป็นหอที่สูงกว่า
 
เอกสารที่เกี่ยวกับประวัติการสร้างมหาวิหารนี้ถูกทำลายไปหมดเมื่อสถานที่เก็บรักษาเอกสารสำคัญของวัดถูกไฟไหม้ไปเมื่อปีค. ศ. 1218 และอีกครั้งเมื่อปีค. ศ. 1258 ครั้งหลังนี้ไฟได้ทำลายตัวมหาวิหารด้วย บาทหลวงเอฟราดเดอฟุยอีเอวราร์เดอฟูยี (Bishop Evrard de Fouilly) เริ่มสร้างมหาวิหารใหม่แทนมหาวิหารเดิมที่ไหม้ไปเมื่อ ค. ศ. 1220 โดยมีโรแบร์ตรอแบร์ เดอ ลูซาสลูซาร์ช (Robert de Luzarches) เป็น[[สถาปนิก]] และลูกชายของโรแบร์ต--เรนอดรอแบร์ คือ เรอโน เดอ คอร์มองท์กอร์มง (Renaud de Cormont) เป็นสถาปนิกต่อมาจนถึงค. ศ. 1288
 
จดหมายเหตุคอร์บีกอร์บี (Chronicle of Corbie) บันทึกไว้ว่ามหาวิหารสร้างเสร็จเมื่อ ค. ศ. 1266 แต่ก็ยังมีการปิดงานต่อมา พื้นโถงกลางภายในมหาวิหารตกแต่งเป็นลวดลายต่างๆต่าง ๆ หลายชนิดรวมทั้งลาย[[สวัสดิกะ]][http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E:Amiens-pavement-swastika.jpg] ลายวนเขาวงกต (labyrinth) ซึ่งปูเมื่อปีค. ศ. 1288 นอกจากนั้นก็มีระเบียงรูปปั้นไม่ใหญ่นัก 3 ระเบียง 2 ระเบียงอยู่ด้านเหนือและด้านใต้ของบริเวณร้องเพลงสวด และระเบียงที่ 3 อยู่ทางด้านตะวันเหนือของแขนกางเขน เป็นเรื่องราวของ[[นักบุญ]]ต่างๆ รวมทั้งชีวะประวัติของนักบุญจอห์น แบ็พทิสต์ มหาวิหารกล่าวว่าเป็นเจ้าของ[[วัตถุมงคลในคริสต์ศาสนา|วัตถุมงคล]]ที่สำคัญคือพระเศียรของนักบุญจอห์น แบ็พทิสต์ ซึ่งวัดได้มาจาก วอลลัน เดอ ซาตอง (Wallon de Sarton) ผู้ไปนำมาจาก[[คอนสแตนติโนเปิล]] เมื่อกลับมาจาก[[สงครามครูเสด]] ครั้งที่ 4
 
รูปปั้นด้านหน้าข้างประตูมหาวิหารที่บอกได้ว่าเป็นนักบุญที่มาจากแถวๆแถว ๆ อาเมียงก็ได้แก่ นักบุญวิคทอเรียสวิกโตรีกุส, ฟูเซียน, และเจ็นเตียง (St. Victoricus, St. Fuscian, และ St. Gentian) ผู้พลีชีพเพื่อศาสนาไม่นานจากกันในคริสต์ศควรรษที่ 3 กล่าวกันว่าเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7 บาทหลวงโฮโนราทุส (Bishop Honoratus) ผู้เป็นบาทหลวงองค์ที่ 7 ของมหาวิหารอาเมียงได้ขุดพบวัตถุมงคลของนักบุญทั้งสาม เมื่อพระเจ้าชิเดอแบรต์ที่ฌีลเดอแบร์ที่ 2 แห่งปารีส (Childebert II) พยายามยึดวัตถุมงคลก็ไม่สามารถทำได้ เมื่อไม่สามารถทำได้ก็ทรงอุทิศเงินก้อนใหญ่ให้กลุ่มลัทธิของผู้นิยมนักบุญทั้งสามและทรงส่งช่างทองมาทำเครื่องตกแต่งเพื่อเป็นเกียรติแก่นักบุญ<ref>[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/body.html ด้านหน้ามหาวิหารอาเมียง (Columbia.edu)]</ref>
 
นักบุญอื่นที่เป็นนักบุญท้องถิ่นที่มีรูปปั้นอยู่หน้าประตูคือนักบุญโดมิเทียส (St. Domitius) ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ผู้เคยเป็นนักบวชที่มหาวิหาร นักบุญอุลเฟีย (St. Ulphia) ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ผู้เคยเป็นลูกศิษย์ของนักบุญอุลเฟียและเป็นผู้ก่อตั้งกลุ่มสตรีผู้เคร่งศาสนาในบริเวณอาเมียง นักบุญแฟแมง (St Fermin) ในคริสต์ศตวรรษที่ 3 ผู้ถูกประหารชีวิตที่อาเมียง <ref>[http://www.mcah.columbia.edu/Mcahweb/facade/footnotes.html ด้านหน้ามหาวิหารอาเมียง (Columbia.edu)]</ref>