ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
Dokhed (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
กฎหมายที่ต้องปฏิบัติฉบับอิเล็กทรอนิกส์
{{หน้าช่วยเหลือส่วนหัว}}
{{วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/แท็บส่วนหัว|หน้านี้=2}}
 
การใช้กฎหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic rulemaking หรือที่รู้จักกันในชื่อ eRulemaking และ e - rulemaking) จะใช้เทคโนโลยีดิจิตอลโดยหน่วยงานราชการ โดยจะใช้ระเบียบของกฏหมายและกระบวนการตัดสินใจ
<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
 
คณะวิจัยสหวิทยาการการใช้กฏหมายอิเล็กทรอนิกส์เกิดขึ้นจาก เงินทุนของ National Science Foundation ภายใต้การอุปถัมภ์ของ Digital Government Program
== การแก้ไขวิกิพีเดียขั้นต้น ==
มหาลัยฮาร์เวิร์ดเผยแพร่ รายงาน workshop ปี 2003 บนลู่ทางการวิจัยในอนาคตและมหาวิทยาลัยพิตส์เบิร์กเผยแพร่รายงานของผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในปี 2004 ประเมินอย่างกว้างขวางในหัวข้อ "อินเตอร์เน็ตเปลี่ยนแปลงทุกๆสิ่ง " ซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ของศาสตราจารย์ Stephen Johnson ในบทความทบทวนกฎหมายปี 1998
[[ภาพ:Edit-this-page-large-th.png|300px|right|กด "แก้ไข" เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาในบทความ]]
คำสั่งวิกิพื้นฐานที่สำคัญที่สุดคือ [[/กระดาษทด/|การแก้ไขหน้า]] โดยหน้าในวิกิเกือบทั้งหมด (ยกเว้น[[วิกิพีเดีย:นโยบายการล็อก|หน้าที่ถูกล็อก]]) สามารถแก้ไขได้โดยผู้เขียนทุกคน ซึ่งเป็นรูปแบบใหม่ในการสร้างเว็บ ที่รู้จักกันในชื่อ [[วิกิ]] ปุ่มข้อความว่า "แก้ไข" จะแสดงไว้ในส่วนหัวเหมือนดังรูป โดยเมื่อกดเข้าไปแล้ว หน้าแก้ไขจะปรากฏขึ้นมาแทน และแล้วคุณก็จะสามารถทำการเปลี่ยนแปลงหน้าบทความผ่านกล่องข้อความตรงกลางหน้าได้ทันที ไม่ว่าจะล็อกอินหรือไม่ก็ตาม (ลองเขียนเล่นได้ที่หน้า [[/กระดาษทด/]] และกดปุ่มแก้ไขด้านบน) คุณสามารถทดลองใส่ข้อความ หรือใส่สิ่งอะไรก็ได้ที่น่าสนใจหรืออยากเขียนลงไป ซึ่งเมื่อทำการบันทึก ข้อความที่คุณเขียนไปจะแสดงขึ้นทันที (ไม่ได้แก้ไขหน้านี้นะ)
 
== ดูตัวอย่าง ==
คุณสมบัติหนึ่งที่สำคัญในการเริ่มใช้วิกิพีเดียคือ "{{Mediawiki:Showpreview}}" โดยจะแสดงเป็นปุ่มในด้านล่างของหน้าแก้ไขบทความ ซึ่งถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน คุณ'''ต้อง'''กดดูตัวอย่างก่อนถึงจะบันทึกได้ ลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]] และเขียนอะไรสักอย่างลงไป หลังจากนั้นให้กดปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' แทนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" เมื่อกดไปข้อความที่คุณเขียนจะแสดงขึ้นมาให้เห็นว่าหน้าตาของข้อความที่คุณพิมพ์ไปแล้วเป็นอย่างไร "ก่อน"ที่คุณจะได้บันทึกจริง
 
ชาววิกิพีเดียทุกคนจะพยายามกดปุ่มดูตัวอย่าง ซึ่งจะช่วยให้เห็นว่าได้เขียนอะไรลงไปหรืออาจจะดูว่าสะกดผิดตรงไหนบ้าง ความสามารถนี้ช่วยให้สามารถจัดรูปแบบหน้าได้หลายแบบตามความพอใจ โดยไม่จำเป็นต้องบันทึกชื่อ(หรือหมายเลขไอพีถ้าคุณไม่ได้ล็อกอิน) ลงในส่วน[[วิกิพีเดีย:หน้าประวัติ|ประวัติของหน้า]] จนเกินควร อย่างไรก็ตามอย่าลืมทำการบันทึกภายหลังจากดูตัวอย่าง ถ้าแน่ใจว่างานของคุณสมบูรณ์
 
== คำอธิบายอย่างย่อ ==
[[File:Edit summary-th.png|right|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]]
 
ตาม[[วิกิพีเดีย:มารยาทในวิกิพีเดีย|มารยาทในวิกิพีเดีย]]แล้ว ก่อนที่จะกดปุ่ม "บันทึก" คุณสามารถเขียนลงไปใน [[วิกิพีเดีย:คำอธิบายอย่างย่อ|กล่องคำอธิบายอย่างย่อ]] เพื่อบอกว่าได้แก้ไขส่วนใดไป ซึ่งกล่องนี้จะอยู่ด้านล่างข้างทุกหน้า อยู่เหนือปุ่มบันทึกและปุ่มดูตัวอย่าง การเขียนคำอธิบายอย่างย่อนี้ช่วยบอกให้ผู้ใช้คนอื่น ๆ เข้าใจว่าเราได้ทำอะไรลงไป ตัวอย่างการเขียนเช่นใส่คำว่า "แก้คำผิด" หรือ "จัดรูปแบบ" หรือ "ใส่ภาพ"
 
นอกจากนี้ถ้าคุณได้แก้ไขเล็กน้อย เช่น การแก้คำผิด หรือการจัดรูปแบบเล็กน้อย คุณอาจจะพิจารณาเลือกเครื่องหมายถูกในช่อง [[วิกิพีเดีย:การแก้ไขเล็กน้อย|การแก้ไขเล็กน้อย]] (คำสั่งนี้จะแสดงขึ้นมาต่อเมื่อคุณได้ทำการล็อกอินเท่านั้น)
 
{{clear}}
<div style="float:left; align:left; background-color: #f5faff; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #cee0f2;">'''ทดลองเขียนได้ที่ [[/กระดาษทด/]]'''</div>
 
<div style="float:right; margin-top: 0.0em; margin-bottom:3px; background-color: #cee0f2; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #a3b1bf;">'''ต่อด้วย [[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (จัดรูปแบบ)|จัดรูปแบบ]]''' <span style="font-size: larger; font-weight: bold;">→</span></div>
</div>
<div style="clear:both"></div>
</div>
 
[[หมวดหมู่:สอนการใช้งานวิกิพีเดีย|1]]
 
[[als:Wikipedia:Tutorial/1]]
[[ast:Ayuda:Tutorial (Edición)]]
[[ms:Wikipedia:Tutorial (Menyunting)]]
[[bg:Уикипедия:Наръчник/Редактиране]]
[[cs:Wikipedie:Průvodce (editování)]]
[[de:Wikipedia:Tutorial/1]]
[[el:Βικιπαίδεια:Οδηγός για νέους χρήστες/Επεξεργασία]]
[[en:Wikipedia:Tutorial (Editing)]]
[[es:Ayuda:Tutorial (Edición)]]
[[fa:ویکی‌پدیا:خودآموز (ویرایش)]]
[[hr:Wikipedija:Tečaj (Uređivanje članaka)]]
[[it:Aiuto:Guida essenziale/Modificare]]
[[lv:Wikipedia:Pamācība (Rediģēšana)]]
[[mt:Għajnuna:Tutorial/Kif timmodifika]]
[[pt:Wikipedia:Tutorial/Edição]]
[[sk:Wikipédia:Príručka/Upravovanie]]
[[sr:Википедија:Упутства/Уређивање чланака]]
[[sv:Wikipedia:ABC i Wikipedia-redigering]]
[[vi:Wikipedia:Sách hướng dẫn/Viết bài]]
[[zh:Wikipedia:使用指南 (编辑)]]