ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระไชยบูลย์ ธมฺมชโย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 124:
นอกจากนั้นคำสอนของพระมงคลเทพมุนีและพระราชภาวนาวิสุทธิ์ตามแนวปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายนั้น ได้ให้คำจำกัดความของคำที่เกี่ยวกับนิพพาน ต่างไปจากในพระไตรปิฎก ที่ว่า พระไตรปิฎกนั้นไม่มีการแยกคำว่า อายตนนิพพาน และ พระนิพพาน
แต่ตามแนวปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย ได้อธิบายเอาไว้ผ่านหนังสือวิสุทธิวาจาซึ่งถอดพระธรรมเทศนาของพระมงคลเทพมุนี<ref>[http://www.kalyanamitra.org/book/pdf/visuthi1.pdf วิสุทธิวาจา เล่มที่ 1 หน้า 30,117-120]</ref>และการเทศนาของพระราชภาวนาวิสุทธิ์ เอาไว้ว่า
'''อายตนอายตนะนิพพาน''' หมายถึง อายตนะอันเป็นที่อยู่ประทับของพระนิพพาน
'''พระนิพพาน''' คือ พระธรรมกายอรหัตละเอียด หรือกายธรรมพระอรหัตละเอียด หรือกายธรรมอรหัตผลขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันตเจ้า ที่ได้ถอด/ละทิ้งขันธ์ 5 ของกายมนุษย์แล้วเปลี่ยนเป็นเข้าสมาบัติจนกระทั่งธรรมขันธ์ คือ กายธรรม/ธรรมกาย หรือมีความละเอียดถูกส่วนกับอายตนะนิพพาน ธรรมกาย ซึ่งลักษณะของธรรมขันธ์ที่ถอดขันธ์ 5 แล้วนั้นธรรมกาย/กายธรรมของพระพุทธเจ้าและเหล่าพระอรหันตสาวกจะมีลักษณะเหมือนกันทุกพระองค์ จึงเรียกว่าโดยลักษณะของกายธรรมอรหัตผลนั้น ธรรมกาย หรือ กายธรรมเหล่านี้ล้วนมีหัวใจ ซึ่งสอนว่าดวงจิต และดวงวิญญาณวัดตัดกลาง ๒o วาเท่ากันหมดทั้งสิ้น หน้าตักกว้าง ๒o วา สูง ๒o วา มีลักษณะของคล้ายองค์พระธรรมกายนั้นพุทธปฏิมากรแก้วใส เป็นรูปร่างของกายแก้วมี ถึงพร้อมด้วยลักษณะมหาบุรุษครบถ้วน 32 ประการ มีเกศดอกบัวตูมซึ่งมีลักษณะเหมือนดอกบัวสัตบงกชที่จอมกระหม่อม มีรัศมีปรากฏ โดยพระนิพพานจะประทับอยู่ในท่านั่งขัดสมาธิคู้บัลลังค์บัลลังก์ คือ ขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ปลายนิ้วของหัวแม่มือชี้ข้างซ้ายขวาจรดกับปลายนิ้วชี้หัวแม่มือข้างขวาซ้าย นั่งบนแผ่นฌานซึ่งมีลักษณะกลม ปลายเข่าทั้งข้างวางพอดีที่ขอบของแผ่นฌานนั้น ซึ่งความต่างกันของกายธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระอรหันตเจ้านั้น ตสาวกนั้นจะมีก็เพียงรัศมีกาย สำหรับกายธรรมอรหัตผลของพระสัพพัญญูพุทธเจ้า/พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแต่ละพระองค์นั้น จำนวนของกายธรรมพระอรหัตผลของพระอรหันตสาวกที่รายล้อมก็มีมากน้อยแตกต่างกันไป ทั้งนี้เป็นเพราะเหตุแห่งกำลังของบุญ บารมี ที่สั่งสมมาอย่างแตกต่างกันเท่านั้นนั่นเอง ส่วนกายธรรมอรหัตผลของพระปัจเจกพุทธเจ้าจะประทับอยู่โดดเดี่ยวโดยลำพัง เพราะเหตุเมื่อครั้งยังทรงดำรงพระชนม์อยู่นั้น พระองค์มิได้เทศนาสั่งสอนโปรดเหล่าเวไนยสัตว์ผู้ใดมาก่อน ทั้งนี้ส่วนกว้าง ส่วนสูง และลักษณะของพระวรกายนั้น เสมอเหมือนกันหมดมิได้มีเหลื่อมล้ำกว่ากันเลย พระนิพพานนี้ทรงประทับเข้านิโรธสมาบัติสงบกันตลอดหมด เพราะการเสวยสุขจากการประทับเข้านิโรธเป็นสุขอย่างยิ่ง และการที่พระนิพพานทรงประทับอยู่ในอายตนะอันมีสภาวะแห่งความมีกายอันยั่งยืนนี้เอง ท่านจึงได้กล่าวว่า "นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ"
 
ในสงสารวัฏนี้ สิ่งที่เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็คือ กายที่ยังเป็น ขันธ์ทั้ง 5 แต่ กายธรรม หรือ ธรรมกาย นั้นมีลักษณะตรงกันข้าม คือ เป็น นิจจัง สุขัง อัตตา คือ เป็นสุขเที่ยงแท้ไม่แปรผัน <ref>[http://www.kalyanamitra.org/book/pdf/visutthi3.pdf วิสุทธิวาจา เล่มที่ 3 หน้า 39-40]</ref> เป็นกายที่รวมประชุมของพระธรรมคำสั่งสอนทั้ง 84,000 พระธรรมขันธ์เอาไว้ภายใน มิใช่พระไตรปิฎกที่อาจมีความคลาดเคลื่อนเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
 
และสอนว่าในอายตนนิพพานนั้น เป็นที่อยู่ของพระนิพพานที่นั่งขัดสมาธิคู้บัลลังค์เข้านิโรธสมาบัติเพียงอย่างเดียว มิได้ทำกิจอื่นใดอีก รวมทั้งอายตนนิพพานนั้น มีหลายอายตนนิพพานทั้งที่ซ่อนเร้นและเปิดเผย แบ่งออกเป็นธาตุธรรมเป็นฝ่ายโปรด (มีหน้าที่เทศนาสั่งสอนให้เห็นโทษภัยในวัฏสงสารเพื่อให้สรรพสัตว์หลุดพ้นตามกำลังแห่งบารมีของตน) และธาตุธรรมเป็นฝ่ายปราบ (มีหน้าที่มุ่งสร้างบารมีเพื่อขจัดพญามารซึ่งเป็นผู้ผลิตกิเลสอาสวะและบัญญัติกฏแห่งกรรม เพื่อปลดปล่อยเชลย คือ สรรพสัตว์ทั้งหมดให้พ้นจากคุก คือ วัฏสงสาร) ซึ่งคำสอนเหล่านี้ไม่เคยปรากฏมีในสำนักสงฆ์ใดนอกจากแนวปฏิบัติเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย จึงเป็นที่มาของการถูกเพ่งเล็งและโจมตีของพระมหาเถระทั้งสองรูป คือ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ในสมัยเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ และพระราชภาวนาวิสุทธิ์ผู้สืบทอดและเผยแผ่มาจนกระทั่งปัจจุบันสมัย
 
=== การให้ความหมายของมัชฌิมาปฏิปทา และ ผลของการดำเนินกรรมฐาน ===