ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสังเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kanawan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<big></big>'''<big>การสังเคราะห์ Synthesis</big><big></big>''' ({{lang-en|Synthesis}}) มาจากคำว่า syn- แปลว่า ร่วม และคำว่า thesis แปลว่า ปรากฏการณ์ใหม่ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณว่า σύνθεσις โดยคำแรก σύν มีความหมายในภาษาอังกฤษว่า with ส่วนคำหลัง θέσις มีความหมายในภาษาอังกฤษว่า placing (sunthesis :ในกรีกโบราณรวมความแล้วมีความหมายคือ ประชุม)การสังเคราะห์ เป็นกระบวนบูรณาการปัจจัยต่างๆตั้งแต่สองปัจจัยขึ้นไปซึ่งอาจเป็นได้ทั้งคน สัตว์ สิ่งของรวมทั้งเหตุการณ์และสิ่งที่อยู่ในรูปของแนวคิดเข้ามาเป็นองค์ประกอบร่วมกันเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่หรือเกิดปรากฏการใหม่ที่อาจเรียกได้ว่าเป็นการบูรณาภาพ โดยปัจจัยหรือองค์ประกอบต่างๆที่เข้ามาสู่กระบวนบูรณาการในการสังเคราะห์นั้นบางปัจจัยอาจจะได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อนแล้วขณะที่บางปัจจัยก็อาจจะยังไม่ได้ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นมาก่อน สภาวะรูปของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่นำมาเป็นปัจจัยและองค์ประกอบในการสังเคราะห์นั้นอาจเป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรม ซึ่งบูรณภาพที่เป็นปรากฏการณ์ใหม่หรือสิ่งใหม่อันเกิดขึ้นจากการสังเคราะห์นั้นก็เป็นไปได้ทั้งแบบรูปธรรมและนามธรรมเช่นกัน.
 
การสังเคราะห์ (Synthesis) อาจอยู่ในรูปแบบต่างๆดังนี้
# '''การสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่ผลผลิต''' เป็นการสังเคราะห์ที่มีวัตถุประสงค์ในผลผลิตโดยมีมโนทัศน์ของผลสัมฤทธิ์และกระบวนการสังเคราะห์ที่ชัดเจน หมายถึงการผลิตผลงานหรือนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ได้ถูกค้นพบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่น การผลิตรถยนต์ การผลิตคอมพิวเตอร์ หรือ การสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น การสังเคราะห์สารเคมี การสังเคราะห์เสียง การสังเคราะห์สี เส้นใยสังเคราะห์ การสังเคราะห์ทางศิลปะเช่นการวาดวาดภาพสีน้ำมัน การสร้างงานศิลปะสื่อผสมต่างๆ รวมถึงการทำอาหารและผลผลิตใดๆก็ตามที่ต้องมีองค์ประกอบตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไปมารวมกันและเข้าสู่กระบวนบูรณาการขึ้นเป็นสิ่งใหม่ ซึ่งการสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุ่งที่ผลผลิตเป็นหลัก
# '''การสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่การค้นหาวิธีการของกระบวนการผลิต''' เป็นการสังเคราะห์ที่มุ่งเน้นการค้นคว้าหาวิธีการของกระบวนการผลิตโดยผู้สังเคราะห์ยังมีโนทัศน์ของกระบวนการผลิตที่ไม่ชัดเจน และยังเป็นเพียงสมมติฐาน การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้หมายถึงการค้นคว้าวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น การสังเคราะห์กระบวนการผลิตยาใหม่ๆ การสังเคราะห์กระบวนการผลิตสีที่มีคุณลักษณะพิเศษ รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ โดยการสังเคราะห์ในรูปแบบนี้ผู้สังเคราะห์ต้องใช้ข้อมูลทางวิชาการที่แม่นยำร่วมกับประสบการณ์และตรรกะเข้าสังเคราะห์และคาดคะเนผลเพื่อมุ่งหากระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ตามวัตถุประสงค์ให้สำเร็จถูกต้องและชัดเจน และนำกระบวนการผลิตที่สังเคราะห์ได้นั้นไปพัฒนาสู่กระบวนการสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่ผลผลิตต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
# '''การสังเคราะห์ในรูปแบบที่มุ่งในการหาผลสรุปให้กับเหตุการณ์หรือแนวคิด''' หมายถึงการสังเคราะห์เหตุการณ์หรือแนวคิดต่างๆตั้งแต่สององค์ประกอบขึ้นไปเพื่อหาผลสรุปให้กับเหตุการณ์หรือแนวคิดนั้นๆ เช่นการสรุปบทความจากหนังสือต่างๆ การประชุมเพื่อสังเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายเพื่อหาข้อสรุปถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยใช้ตรรกะและประสบการณ์ของผู้สังเคราะห์เข้าร่วมพิจารณา และอาจใช้ข้อมูลที่สรุปได้จากการสังเคราะห์ไปพัฒนาเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
# '''การสังเคราะห์ในรูปแบบที่มุ่งในการทำนายหรือคาดเดาสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต''' หมายถึงการสังเคราะห์เหตุการณ์หรือแนวคิดต่างๆตั้งแต่สององค์ประกอบขึ้นไปเพื่อหาผลสรุปให้กับการทำนายและคาดเดาสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุ่งเน้นที่การคาดเดาเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยใช้ข้อมูลหลากหลายรูปแบบหลายองค์ประกอบทั้งที่เคยเกิดขึ้นในอดีตและกำลังเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันนำมาสังเคราะห์ ร่วมกับประสบการณ์และตรรกะของผู้สังเคราะห์เพื่อที่จะนำไปสู่ข้อสรุปในการคาดเดาเหตุการณ์หรือสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และอาจใช้ข้อมูลที่สรุปได้จากการสังเคราะห์ไปพัฒนาเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
# '''การสังเคราะห์ในรูปแบบที่เป็นปรากฏการทางธรรมชาติ''' มุ่งที่การเกิด การดำรงอยู่และการทำลายตามธรรมชาติ เช่นการสังเคราะห์โปรตีนในน้ำนม การสังเคราะห์ Ribonucleic acid การสังเคราะห์DNA และการสังเคราะห์ที่เกิดขึ้นตามกระบวนการธรรมชาติต่างๆ การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุงเน้นที่การเกิด การดำรงอยู่และการทำลายตามวัฎจักรของวงจรชีวิตและเป็นปรากฏการทางธรรมชาติ ส่วนคำว่าพืชสังเคราะห์แสงในการสร้างอาหารนั้น น่าจะใช้คำว่าพืชสังเคราะห์อาหารด้วยแสงน่าจะตรงกับกระบวนการมากกว่า
 
== ขั้นตอนการสังเคราะห์ ==
# '''กำหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์'''ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้เกิดบูรณาภาพหรือปรากฏการณ์ใหม่ในรูปแบบใด เช่นเพื่อให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เกิดข้อสรุป หรือ เพื่อให้เกิดการทำนายเหตุการณ์ในอนาคตโดยกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนด้วยว่าจะสังเคราะห์เพื่อนำผลการสังเคราะห์ที่ได้ไปดำเนินการในสิ่งใดต่อ
# '''จัดเตรียมปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆ'''ที่จะนำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเป็นประเด็นนามธรรมต่างๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ข้อมูลหรือปัจจัยวัตถุดิบต่างๆที่มีคุณภาพเพื่อนำสู่กระบวนการสังเคราะห์
# '''สังเคราะห์'''ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ที่กำหนด โดยให้กระบวนการสังเคราะห์มุ่งที่การนำปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์.
# '''ตรวจสอบและประเมินผล'''การสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยำ ความเที่ยง และความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดเพื่อเตรียมนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
:# ผลการสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ มีความแม่นยำน่าเชื่อถือและมีความเป็นไปได้สูง สามารถนำผลของการสังเคราะห์ดำเนินการนำไปใช้ในขั้นต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์
:# ผลของการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ ให้นำกลับเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์อีกครั้งหนึ่งเพื่อดำเนินการตรวจสอบคุณภาพของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่นำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของผู้ทำการสังเคราะห์ต่อไป
# '''นำผลการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมาย'''โดยจะนำเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลสังเคราะห์ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทำการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อนำไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาสของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต
 
== อ้างอิง ==
 
* Maria Fusaro, ,Five Minds for the Future,HGSE Professor Howard Gardner,http://www.uknow.gse.harvard.edu/teaching/TC106-607.html
<big><big>การสังเคราะห์ (Synthesis) อาจอยู่ในรูปแบบต่างๆดังนี้</big></big>
* พ.อ.บัญชา ดุริยพันธ์.เอกสารรายงาน นศ.วทบ.สบส. หลักสูตรหลักประจำชุดที่ 53 หมายเลข 63,การคิดเชิงเปรียบเทียบการคิดเชิงสังเคราะห์.
 
* การสังเคราะห์แสง,WWW.PANYATHAI.OR.TH
 
* นางสาวสากีนะ เฮงมะนีลอ, การสังเคราะห์โปรตีน.
 
<big>'''1.การสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่ผลผลิต'''</big> เป็นการสังเคราะห์ที่มีวัตถุประสงค์ในผลผลิตโดยมีมโนทัศน์ของผลสัมฤทธิ์และกระบวนการสังเคราะห์ที่ชัดเจน หมายถึงการผลิตผลงานหรือนวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ ที่ได้ถูกค้นพบเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เช่น การผลิตรถยนต์ การผลิตคอมพิวเตอร์ หรือ การสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ เช่น การสังเคราะห์สารเคมี การสังเคราะห์เสียง การสังเคราะห์สี เส้นใยสังเคราะห์ การสังเคราะห์ทางศิลปะเช่นการวาดวาดภาพสีน้ำมัน การสร้างงานศิลปะสื่อผสมต่างๆ รวมถึงการทำอาหารและผลผลิตใดๆก็ตามที่ต้องมีองค์ประกอบตั้งแต่สองสิ่งขึ้นไปมารวมกันและเข้าสู่กระบวนบูรณาการขึ้นเป็นสิ่งใหม่ ซึ่งการสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุ่งที่ผลผลิตเป็นหลัก
 
<big>'''2. การสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่การค้นหาวิธีการของกระบวนการผลิต'''</big> เป็นการสังเคราะห์ที่มุ่งเน้นการค้นคว้าหาวิธีการของกระบวนการผลิตโดยผู้สังเคราะห์ยังมีโนทัศน์ของกระบวนการผลิตที่ไม่ชัดเจน และยังเป็นเพียงสมมติฐาน การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้หมายถึงการค้นคว้าวิจัยผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เช่น การสังเคราะห์กระบวนการผลิตยาใหม่ๆ การสังเคราะห์กระบวนการผลิตสีที่มีคุณลักษณะพิเศษ รวมทั้งนวัตกรรมต่างๆ โดยการสังเคราะห์ในรูปแบบนี้ผู้สังเคราะห์ต้องใช้ข้อมูลทางวิชาการที่แม่นยำร่วมกับประสบการณ์และตรรกะเข้าสังเคราะห์และคาดคะเนผลเพื่อมุ่งหากระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ตามวัตถุประสงค์ให้สำเร็จถูกต้องและชัดเจน และนำกระบวนการผลิตที่สังเคราะห์ได้นั้นไปพัฒนาสู่กระบวนการสังเคราะห์ในรูปแบบมุ่งที่ผลผลิตต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
 
<big>'''3. การสังเคราะห์ในรูปแบบที่มุ่งในการหาผลสรุปให้กับเหตุการณ์หรือแนวคิด'''</big> หมายถึงการสังเคราะห์เหตุการณ์หรือแนวคิดต่างๆตั้งแต่สององค์ประกอบขึ้นไปเพื่อหาผลสรุปให้กับเหตุการณ์หรือแนวคิดนั้นๆ เช่นการสรุปบทความจากหนังสือต่างๆ การประชุมเพื่อสังเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างหลากหลายเพื่อหาข้อสรุปถึงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น โดยใช้ตรรกะและประสบการณ์ของผู้สังเคราะห์เข้าร่วมพิจารณา และอาจใช้ข้อมูลที่สรุปได้จากการสังเคราะห์ไปพัฒนาเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
 
<big>'''4. การสังเคราะห์ในรูปแบบที่มุ่งในการทำนายหรือคาดเดาสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต'''</big> หมายถึงการสังเคราะห์เหตุการณ์หรือแนวคิดต่างๆตั้งแต่สององค์ประกอบขึ้นไปเพื่อหาผลสรุปให้กับการทำนายและคาดเดาสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุ่งเน้นที่การคาดเดาเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต โดยใช้ข้อมูลหลากหลายรูปแบบหลายองค์ประกอบทั้งที่เคยเกิดขึ้นในอดีตและกำลังเกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบันนำมาสังเคราะห์ ร่วมกับประสบการณ์และตรรกะของผู้สังเคราะห์เพื่อที่จะนำไปสู่ข้อสรุปในการคาดเดาเหตุการณ์หรือสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และอาจใช้ข้อมูลที่สรุปได้จากการสังเคราะห์ไปพัฒนาเป็นกระบวนการที่เป็นรูปธรรมต่อไป การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้จะมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอีกหากข้อมูลที่นำมาสังเคราะห์ได้ผ่านการสืบค้นแยกแยะด้วยการวิเคราะห์มาก่อนแล้ว
 
<big>'''5. การสังเคราะห์ในรูปแบบที่เป็นปรากฏการทางธรรมชาติ'''</big> มุ่งที่การเกิด การดำรงอยู่และการทำลายตามธรรมชาติ เช่นการสังเคราะห์โปรตีนในน้ำนม การสังเคราะห์ Ribonucleic acid การสังเคราะห์DNA และการสังเคราะห์ที่เกิดขึ้นตามกระบวนการธรรมชาติต่างๆ การสังเคราะห์ในรูปแบบนี้มุงเน้นที่การเกิด การดำรงอยู่และการทำลายตามวัฎจักรของวงจรชีวิตและเป็นปรากฏการทางธรรมชาติ ส่วนคำว่าพืชสังเคราะห์แสงในการสร้างอาหารนั้น น่าจะใช้คำว่าพืชสังเคราะห์อาหารด้วยแสงน่าจะตรงกับกระบวนการมากกว่า
 
 
 
 
<big><big>ขั้นตอนดำเนินการสังเคราะห์</big></big>
 
 
'''1.กำหนดหัวเรื่องและจุดประสงค์'''ที่จะสังเคราะห์ให้ชัดเจนว่าต้องการสังเคราะห์เพื่อให้เกิดบูรณาภาพหรือปรากฏการณ์ใหม่ในรูปแบบใด เช่นเพื่อให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เกิดข้อสรุป หรือ เพื่อให้เกิดการทำนายเหตุการณ์ในอนาคตโดยกำหนดวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนด้วยว่าจะสังเคราะห์เพื่อนำผลการสังเคราะห์ที่ได้ไปดำเนินการในสิ่งใดต่อ
 
 
'''2.จัดเตรียมปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆ'''ที่จะนำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์ซึ่งอาจเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเป็นประเด็นนามธรรมต่างๆ คัดกรอง คัดเลือกให้ได้ข้อมูลหรือปัจจัยวัตถุดิบต่างๆที่มีคุณภาพเพื่อนำสู่กระบวนการสังเคราะห์
 
 
'''3.สังเคราะห์'''ปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่เตรียมไว้ตามจุดประสงค์ที่กำหนด โดยให้กระบวนการสังเคราะห์มุ่งที่การนำปรากฏการใหม่หรือบูรณาภาพที่ได้จากการสังเคราะห์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามที่ได้กำหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการสังเคราะห์.
 
 
'''4.ตรวจสอบและประเมินผล'''การสังเคราะห์ที่ได้ว่าน่าจะมีความแม่นยำ ความเที่ยง และความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดเพื่อเตรียมนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
 
4.1 ผลการสังเคราะห์ที่มีคุณภาพ มีความแม่นยำน่าเชื่อถือและมีความเป็นไปได้สูง สามารถนำผลของการสังเคราะห์ดำเนินการนำไปใช้ในขั้นต่อไปได้ตามวัตถุประสงค์
 
4.2 ผลของการสังเคราะห์ที่ไม่มีคุณภาพ ให้นำกลับเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์อีกครั้งหนึ่งเพื่อดำเนินการตรวจสอบคุณภาพของปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่นำเข้าสู่กระบวนการสังเคราะห์รวมทั้งตรวจสอบคุณภาพของผู้ทำการสังเคราะห์ต่อไป
 
 
'''5.นำผลการสังเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ตามจุดมุ่งหมาย'''โดยจะนำเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลสังเคราะห์ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทำการสังเคราะห์ เช่น สังเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันเพื่อนำไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาสของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต.</big>
</sub>
 
 
'<big>''<big>สังเคราะห์เป็นกระบวนการด้านตรงข้ามกับการวิเคราะห์</big>'''
 
</big>
 
 
<big>'''<big>การวิเคราะห์( Analysis)</big>'''
</big>
 
 
<sup><big><big>'''การวิเคราะห์ ( Analysis)'''</big>คือการแยกแยะสืบค้นหาที่มาและองค์ประกอบของคน สัตว์ สิ่งของ รวมทั้งเหตุการณ์และแนวคิดต่างๆโดยเป็นกระบวนการแยกแยะสืบค้นแบบย้อนกลับ ซึ่งคน สัตว์ สิ่งของ รวมทั้งเหตุการณ์และแนวคิดต่างๆที่จะนำมาวิเคราะห์สืบค้นหาที่มาและองค์ประกอบนั้นเป็นได้ทั้งรูปธรรมและนามธรรม โดยการวิเคราะห์ในแต่ละครั้งองค์ประกอบต่างๆที่แยกแยะสืบค้นออกมาได้อาจเป็นความจริงที่พิสูจน์ได้โดยทฤษฎีที่เป็นประจักษ์ หรือเป็นเพียงแค่สมมติฐานจากหลักวิชาการและประสบการณ์ของผู้ทำการวิเคราะห์และผลของการวิเคราะห์ที่มีคุณภาพคือผลการวิเคราะห์ที่มีความแม่นยำและมีความเที่ยงสูงโดยผลการวิเคราะห์ในแต่ละครั้งจะมีคุณภาพหรือไม่มีคุณภาพก็ขึ้นอยู่กับความถูกต้องแม่นยำของข้อมูลอ้างอิงและตรรกะของผู้ทำการวิเคราะห์เอง</big></sup>
 
 
<big><big>ขั้นตอนดำเนินการวิเคราะห์</big></big>
 
 
'''1.กำหนดหัวเรื่องที่จะวิเคราะห์'''ให้ชัดเจนว่าต้องการวิเคราะห์สืบค้นหาที่มาที่ไปของเรื่องอะไร อาจเป็นคน สัตว์ สิ่งของ หรือเป็นประเด็นนามธรรมก็ได้
 
 
'''2.กำหนดจุดมุ่งหมาย'''ให้ชัดเจนว่าจะวิเคราะห์เพื่อนำผลการวิเคราะห์ไปดำเนินการสิ่งใดต่อ
 
 
'''3.ทำการแยกแยะสืบค้น'''โดยการคิดย้อนหลังหาองค์ประกอบที่มาที่ไปของสิ่งที่กำลังทำการวิเคราะห์ว่าน่าจะเกิดขึ้นได้ด้วยองค์ประกอบใดบ้าง โดยองค์ประกอบนั้นอาจมีข้อเดียวหรือหลายข้อประกอบกันขึ้นอย่างเหมาะสมจนเป็นที่มาของสิ่งที่ได้กำลังทำการวิเคราะห์สืบค้น
 
 
'''4.นำผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์'''ตามจุดมุ่งหมายโดยจะนำเสนอต่อสาธารณะหรือเก็บเป็นข้อมูลวิเคราะห์ส่วนตัวก็แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ทำการวิเคราะห์เช่น วิเคราะห์สืบค้นที่มาของอดีตเพื่อนำไปใช้ประกอบการคาดเดาโอกาสของเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต</big>
</sup>
 
 
 
'''<big>อ้างอิง</big>'''
 
1.Synthesis,The Wikipedia, Free Encyclopedia.
 
2.合成,The Wikipedia,Free Encyclopedia.
 
3.Synthèse,Wikipedia,Free Encyclopedia.
 
4.แคลคูลัส,วิกิพีเดีย,พจนานุกรมเสรี.
 
5.การสังเคราะห์ด้วยแสง,วิกิพีเดีย,พจนานุกรมเสรี.
 
6.Maria Fusaro, ,Five Minds for the Future,HGSE Professor Howard Gardner,http://www.uknow.gse.harvard.edu/teaching/TC106-607.html
 
7.พ.อ.บัญชา ดุริยพันธ์.เอกสารรายงาน นศ.วทบ.สบส. หลักสูตรหลักประจำชุดที่ 53 หมายเลข 63,การคิดเชิงเปรียบเทียบการคิดเชิงสังเคราะห์.
 
8.การสังเคราะห์แสง,WWW.PANYATHAI.OR.TH
 
9.นางสาวสากีนะ เฮงมะนีลอ, การสังเคราะห์โปรตีน.