ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วานรสิบแปดมงกุฎ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-<references/> +{{รายการอ้างอิง}}) ด้วยบอต
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{เก็บกวาด}}
[[ไฟล์: MK490603-2382-20.jpg|thumb|400250px|right|รูปบางส่วนของวานรสิบแปดมงกุฎ<br>ในการแสดงโขนที่ลานคนเมืองเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน2549]]
[['''วานรสิบแปดมงกุฏ]]''' เป็นวานร ( ลิง )ใน[[วรรณคดี]]เรื่อง[[รามเกียรติ์]] วานรเหล่านี้เป็นเทวดาที่จุติลงมาเป็นวานร และมาเป็นทหารเอกในกองทัพของ[[พระราม]] ผู้ซึ่งเป็นองค์[[พระนารายณ์]]อวตารลงมา และต้องไปอยู่ในป่าเป็นเวลา ๑๔ ปี เพื่อรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดา คือ[[ท้าวทศรถ]]<br />
เมื่อพระมเหสีของพระราม คือ [[นางสีดา]] ถูก[[ทศกัณฐ์]] กษัตริย์เมืองลงกา ลักพาตัวไป [[พระราม]]ต้องนำกองทัพติดตามไปรับ[[นางสีดา]]คืนมา โดยมี[[หนุมาน]]ผู้นำเอา [[สุครีพ]] ซึ่งเป็นน้าชายมาถวายตัวพร้อมไพร่พลเมือง[[ขีดขิน]] และ[[ท้าวมหาชมพู]]ที่ยกกำลังพลเมือง[[ชมพู]]ให้เป็นทหารแห่งองค์[[พระราม]]
[[วานรสิบแปดมงกุฏ]] จึงเป็นกำลังพลในทัพขององค์พระราม ที่มาจากสองเมืองคือ เมือง[[ขีดขิน]]ของ[[สุครีพ]] และเมือง[[ชมพู]]ของท้าว[[มหาชมพู]]<br />
เทวดา 18 องค์ที่อาสามาช่วยพระนารายณ์ตอนอวตารมาเป็นพระราม ปรากฏในในบทละคร[[รามเกียรติ์]]<ref name >บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] [[พระราชนิพนธ์]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]</ref> ที่กล่าวถึงตอนนี้ว่า <br>
{|align="center"
 
เมื่อพระมเหสีของพระราม คือ [[นางสีดา]] ถูก[[ทศกัณฐ์]] กษัตริย์เมืองลงกา ลักพาตัวไป [[พระราม]]ต้องนำกองทัพติดตามไปรับ[[นางสีดา]]คืนมา โดยมี[[หนุมาน]]ผู้นำเอา [[สุครีพ]] ซึ่งเป็นน้าชายมาถวายตัวพร้อมไพร่พลเมือง[[ขีดขิน]] และ[[ท้าวมหาชมพู]]ที่ยกกำลังพลเมือง[[ชมพู]]ให้เป็นทหารแห่งองค์[[พระราม]] วานรสิบแปดมงกุฏจึงเป็นกำลังพลในทัพขององค์พระราม ที่มาจากสองเมืองคือ เมือง[[ขีดขิน]]ของ[[สุครีพ]] และเมือง[[ชมพู]]ของท้าว[[มหาชมพู]]
|-
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''เมื่อนั้น'''
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ฝูงเทพเทวาน้อยใหญ่'''
|-
|'''ต่างทูลอาสาพระภูวไนย'''
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''จะขอไปเป็นพลพระอวตาร'''
|-
||'''มาล้างเหล่าอสูรพาลา'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ที่หยาบช้าเบียนโลกทุกสถาน'''
|-
|}
 
[[ไฟล์: MK490603-2382-20.jpg|thumb|400px|right|รูปบางส่วนของวานรสิบแปดมงกุฎ<br>ในการแสดงโขนที่ลานคนเมืองเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน2549]]
 
เทวดาเหล่านี้ประกอบด้วย พระ[[วิรุฬหก]] เป็น [[เกยูร]] พระ[[วิรูปักษ์]] เป็น [[มายูร]] พระ[[หิมพานต์]]เป็น [[โกมุท]] พระ[[วิศาล]]เทวบุตร เป็น [[ไชยามพวาน]] พระ[[พิรุณ]] เป็น [[ไวยบุตร]] พระ[[มหาชัย]] เป็น [[สุรกานต์]] พระ[[พินาย]] เป็น [[นิลเอก]] พระ[[พิเนก]]เป็น [[นิลขัน]] พระ[[เกตุ]] เป็น [[กุมิตัน]] พระ[[สมุทร]] เป็น [[นิลราช]] [[พระจันทร์]] เป็น [[สัตพลี]] [[พระอังคาร]]เป็น [[วิสันตราวี]] [[พระพุธ]] เป็น[[สุรเสน]] [[พระราหู]] อวตารเป็น [[นิลปานัน]] [[พระพฤหัสบดี]] เป็น [[มาลุนทเกสร]] [[พระศุกร์]]เป็น[[นิลปาสัน]] [[พระเสาร์]]เป็น [[นิลพานร]] และ[[พระไพรศรพณ์]](พระ-ไพ-สบ) เป็น [[เกสรทมาลา]]
 
เมื่อนางมณโฑเทวีผู้เคยเป็นนางฟ้าอยู่บนสวรรค์ออกไปดูทัพพระรามกับทศกัณฐ์ เมื่อเห็นทัพลิงก็ตกใจ แล้วกล่าวว่า<br>
{|align="center"
|-
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''อันทหารทั้งสองนคเรศ'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''เลื่องชื่อลือเดชชาญสมร'''
|-
||'''ล้วนเทวามาเป็นพานร'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''อาจจะช้อนพิภพเมืองอินทร์'''
|-
||'''ถึงจะพลิกสี่มหาสุธาธาร'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ทั่วทุกจักรวาลก็ได้สิ้น'''
|-
|}
 
== [[วานรสิบแปดมงกุฏ]] ==
{{บน}}
* พระ[[วิรุฬหก]] เป็น [[เกยูร]]
* พระ[[วิรูปักษ์]] เป็น [[มายูร]]
* พระ[[หิมพานต์]]เป็น [[โกมุท]]
* พระ[[วิศาล]]เทวบุตร เป็น [[ไชยามพวาน]]
* พระ[[พิรุณ]] เป็น [[ไวยบุตร]]
* พระ[[มหาชัย]] เป็น [[สุรกานต์]]
* พระ[[พินาย]] เป็น [[นิลเอก]]
* พระ[[พิเนก]]เป็น [[นิลขัน]]
* พระ[[เกตุ]] เป็น [[กุมิตัน]]
{{กลาง}}
* พระ[[สมุทร]] เป็น [[นิลราช]]
* [[พระจันทร์]] เป็น [[สัตพลี]]
====* [[พระอังคาร]]เป็น [[วิสันตราวี]] ====
* [[พระพุธ]] เป็น[[สุรเสน]]
* [[พระราหู]] อวตารเป็น [[นิลปานัน]]
* [[พระพฤหัสบดี]] เป็น [[มาลุนทเกสร]]
* [[พระศุกร์]]เป็น[[นิลปาสัน]]
* [[พระเสาร์]]เป็น [[นิลพานร]]
* [[พระไพรศรพณ์]] (พระ-ไพ-สบ) เป็น [[เกสรทมาลา]]
{{ล่าง}}
 
==== [[เกยูร]] ====
{|
|'''เมือง'''
เส้น 82 ⟶ 72:
|}
 
==== [[โกมุท]] ====
โกมุท หรือ โคมุท <br>
{|
เส้น 126 ⟶ 116:
|}
 
==== [[ไชยามพวาน]] ====
[[ไฟล์:OPR050203Chaiyampawan-DL.jpg|500px|left|]]
{|
เส้น 168 ⟶ 158:
|}
 
==== [[มาลุนทเกสร]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
สีเมฆ หรือ สีม่วงครามอ่อน หัวโล้น ปากหุบ<br>
ชาติเดิม : [[พระพฤหัสบดี]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพ[[ฤษี]] อาจารย์[[พระอินทร์]] <br>
 
==== [[วิมลวานร]] ====
วิมลวานร หรือ พิมลพานร<br>
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
เส้น 179 ⟶ 169:
ชาติเดิม : [[พระเสาร์]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพเจ้าแห่งการกสิกรรม <br>
 
==== [[ไวยบุตร]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
สีเมฆครึ้มฝน หรือ สีมอครามแก่ หัวโล้น ปากอ้า<br>
ชาติเดิม : [[พระพิรุณ]] เทพเจ้าแห่งฝน <br>
 
==== [[สัตพลี]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
สีขาวผ่อง หัวโล้น ปากหุบ<br>
เส้น 191 ⟶ 181:
ภายหลังได้รับการแต่งตั้งเป็นอาลักษณ์แห่งเมือง[[ขีดขิน]]<br>
 
==== [[สุรกานต์]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
สีเหลืองจำปา หรือ สีแดงชาด หัวโล้น ปากอ้า<br>
เส้น 197 ⟶ 187:
สุรกานต์เป็นผู้คุมกำลัง 30 สมุทรมาช่วยพระรามรบ เมื่อเสร็จศึกแล้วได้ครองเมืองโรมคัล<br>
 
==== [[สุรเสน]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ขีดขิน]]<br>
สีแสด หรือ สีเขียว บางตำราว่าสีแดงเจือเขียว หัวโล้น ปากอ้า<br>
เส้น 203 ⟶ 193:
สุรเสนมีความเก่งกาจเกือบเทียบได้กับ[[หนุมาน]] เมื่อเสร็จศึกได้ไปครองเมือง[[อัสดงค์]]ของ[[สัทธาสูร]]<br>
 
==== [[นิลขัน]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีหงดิน หัวโล้น ปากอ้า<br>
ชาติเดิม : [[พระพิฆเนศ]] [[พระวิฆเนศ]] เทพเจ้าแห่งศิลป <br>
 
==== [[นิลปานัน]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีสำริด หัวโล้น ปากอ้า<br>
ชาติเดิม : [[พระราหู]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพเจ้าผู้สถิตอยู่บนก้อนเมฆ <br>
 
==== [[นิลปาสัน]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีเลื่อมเหลือง หรือ สีหมากสุก หัวโล้น ปากอ้า<br>
ชาติเดิม : [[พระศุกร์]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพเจ้าแห่งความรัก ความงาม และความสันติ<br>
 
==== [[นิลราช]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีน้ำไหล หรือ สีฟ้าอ่อนเจือเขียว หัวโล้น ปากหุบ<br>
เส้น 224 ⟶ 214:
นิลราชนอกจากมีบทบาทสำคัญในการรบแล้ว ยังมีหน้าที่เอาก้อนหินไปถมทะเลในตอนจองถนน เพราะต้องคำสาปของ[[ฤๅษีคาวิน]] ว่าเมื่อเอาสิ่งใดทิ้งน้ำให้จมอยู่กับที่ จึงต้องเป็นผู้อาสาเอาศิลาไปทิ้งทะเลแต่ผู้เดียวจึงจะพ้นคำสาป<br>
 
==== [[นิลเอก]] ====
 
==== [[นิลเอก]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีทองแดง หัวโล้น ปากหุบ<br>
เส้น 231 ⟶ 220:
นิลเอกคือผู้ที่ไปช่วยพระ[[ลักษณ์]]ทำลายพิธีกุมภนิยาของ[[อินทรชิต]]<br>
 
=== วิสันตราวี]] ===
 
==== [[วิสันตราวี]] ====
วานรฝ่ายเมือง[[ชมพู]]<br>
สีลิ้นจี่ หัวโล้น ปากอ้า<br>
ชาติเดิม : [[พระอังคาร]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพเจ้าแห่งสงคราม<br>
 
==== [[กุมิตัน]] ====
ไม่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายใด <br>
[[วานรพงศ์]] ของ พระ [[เทวาภินิมมิต]] ( [[ฉาย]] [[เทวาภินิมมิต]] ) ว่าเป็นฝ่าย เมือง[[ชมพู]]<br>
เส้น 243 ⟶ 231:
ชาติเดิม : [[พระเกตุ]] [[เทวดานพเคราะห์]] เทพเจ้าผู้คุ้มครองสวัสดิมงคล <br>
 
==== [[เกสรทมาลา]] ====
ลิงตัวหอม<br>
ไม่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายใด <br>
เส้น 251 ⟶ 239:
คุณสมบัติพิเศษ : มีกลิ่นกายหอมสดชื่น มีหน้าที่อยู่ใกล้ๆองค์พระราม ให้กลิ่นกายไปสร้างความสดชื่นให้กับพระองค์<br>
 
==== [[มายูร]] ====
ไม่ปรากฏว่าเป็นฝ่ายใด <br>
[[วานรพงศ์]] ของ พระ [[เทวาภินิมมิต]] ( [[ฉาย]] [[เทวาภินิมมิต]] ) ว่าเป็นฝ่าย เมือง[[ชมพู]]<br>
เส้น 257 ⟶ 245:
ชาติเดิม : [[ท้าววิรูปักษ์]] ราชาแห่ง[[นาค]] [[จตุโลกบาล]] ประจำ [[ทิศตะวันออก]]<br>
 
== [[ระบำวานรพงศ์]][[ของกรมศิลปากร]] ==
ระบำวานรพงศ์เป็นชุดการแสดงที่สร้างสรรค์ใหม่ โดยนาย [[เสรี หวังในธรรม]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] พ.ศ. ๒๕๓๑ สาขาศิลปการละคร ( ถึงแก่กรรม ๒๕๕๐ ) เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองการสังคีต [[กรมศิลปากร]] เป็นผู้ออกแบบและสร้างบท นำออกแสดงในโขนเรื่อง[[รามเกียรติ์]] ชุด[[หนุมาน]]ชาญสมร ณ [[โรงละครแห่งชาติ]] เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ผู้ประดิษฐ์ท่ารำ คือ นาย [[กรี วรศะริน]] [[ศิลปินแห่งชาติ]] พ.ศ. ๒๕๓๑ สาขานาฏศิลป์โขน ( ถึงแก่กรรม ๒๕๔๑ ) ผู้รับถ่ายทอดท่ารำ คือ นาย [[ประสิทธิ์ ปิ่นแก้ว]] ผู้เชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป์ไทย อดีตผู้อำนวยการ[[วิทยาลัยนาฏศิลป]] ( เกษียณฯ ๒๕๔๕ )
 
เส้น 266 ⟶ 254:
การแต่งกายนั้นแต่งตามรูปแบบลิงสิบแปดมงกุฎ และลิงพญายืนเครื่องเต็มตัว พร้อมอาวุธประจำตัว สีเสื้อและศีรษะเป็นสีเดียวกันตามพงศ์ในเรื่อง[[รามเกียรติ์]]
 
ส่วนลักษณะท่ารำนั้น ลิงสิบแปดมงกุฏออกท่าเพลงหน้าพาทย์รุกร้น แล้วตีบทในเพลงแขกโหม่งชั้นเดียว ต่อจากนั้นลิงพญาออกท่าเพลงหน้าพาทย์รัวสามลาและเพลงกราวกลาง โดยตีบทตามความหมายของบทร้อง ในกิริยาอาการของลิงผสมผสานกับลีลานาฏศิลป์เรียงตามลำดับตามชื่อด้วยความคล่องแคล่วว่องไวการแสดงชุดนี้ใช้เวลาแสดงประมาณ ๑๒ นาที<br><br>เนื้อความจากบทร้องในระบำวานรพงศ์ <br><br>
 
*ชุดแรก [[วานรสิบแปดมงกุฏ]]<br>
เส้น 325 ⟶ 313:
|}
 
== สำนวนไทย "สิบแปดมงกุฏ" ==
ในหนังสือ "[[สำนวนไทย]]" ของ [[ขุนวิจิตรมาตรา]] ([[สง่า กาญจนาคพันธ์]]) เขียนไว้ว่า สิบแปดมงกุฎ นำมาใช้เป็นสำนวนในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อมีนักเลงการพนันใหญ่ลือชื่อพวกหนึ่ง กล่าวกันว่าเป็นนักเลงชั้นยอด สักตามตัวเป็นรูปมงกุฎ จึงเรียกว่า สิบแปดมงกุฎ ตามเรื่องราวในรามเกียรติ์ จากนั้นถ้าใครเป็นนักเลงการพนันก็เลยเรียกว่า สิบแปดมงกุฎ
 
ทุกวันนี้ สิบแปดมงกุฎมิใช่สำนวนที่ใช้เรียกพวกนักเลงพนันเท่านั้น แต่ใช้เรียกพวกมิจฉาชีพทั้งหลาย เป็นสำนวนที่พบเห็นบ่อยมากตามสื่อมวลชนต่างๆ ซิ่งมีความหมายถึงพวกที่ยักยอก ต้มตุ๋น หลอกลวงให้ผู้อื่นหลงเชื่อแล้วยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินผู้อื่นมาเป็นของตน
 
== โครงกลอนที่แสดงถึงวานรสิบแปดมงกุฏ ==
เทวดา 18 องค์ที่อาสามาช่วยพระนารายณ์ตอนอวตารมาเป็นพระราม ปรากฏในในบทละคร[[รามเกียรติ์]]<ref name >บทละครเรื่อง[[รามเกียรติ์]] [[พระราชนิพนธ์]]ใน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]</ref> ที่กล่าวถึงตอนนี้ว่า <br>
 
{{บทกวี|indent=1
|เมื่อนั้น
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ฝูงเทพเทวาน้อยใหญ่'''}}
{{บทกวี
|'''ต่างทูลอาสาพระภูวไนย'''
|&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''จะขอไปเป็นพลพระอวตาร'''}}
{{บทกวี
||'''มาล้างเหล่าอสูรพาลา'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ที่หยาบช้าเบียนโลกทุกสถาน'''
||source=พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช}}
 
เมื่อนางมณโฑเทวีผู้เคยเป็นนางฟ้าอยู่บนสวรรค์ออกไปดูทัพพระรามกับทศกัณฐ์ เมื่อเห็นทัพลิงก็ตกใจ แล้วกล่าวว่า<br>
 
{{บทกวี|indent=1
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''อันทหารทั้งสองนคเรศ'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''เลื่องชื่อลือเดชชาญสมร'''}}
{{บทกวี
||'''ล้วนเทวามาเป็นพานร'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''อาจจะช้อนพิภพเมืองอินทร์'''}}
{{บทกวี
||'''ถึงจะพลิกสี่มหาสุธาธาร'''
||&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''ทั่วทุกจักรวาลก็ได้สิ้น'''}}
 
== อ้างอิง ==