ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จันทร์ ขนนกยูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 52:
ภายใน[[วัดพระธรรมกาย]]มีสิ่งก่อสร้างที่[[พระราชภาวนาวิสุทธิ์]]ได้มีดำริให้ก่อสร้างขึ้น และ โดยการร่วมปัจจัยจากศิษยานุศิษย์จำนวนมากทั่วโลก สิ่งก่อสร้างดังกล่าวได้แก่
 
; 1) หอฉัน : หอฉันที่วัดพระธรรมกาย ได้ตั้งชื่อตามผู้ก่อตั้งวัดพระธรรมกาย ว่า [[หอฉันคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง]] หรือ เรียกโดยย่อว่า '''หอฉันคุณยาย''' สามารถรองรับพระภิกษุได้มากถึง 6,000 รูป โดยในแต่ละวัน จะมีสาธุชนมาร่วมกันถวายภัตตาหารและน้ำปานะแด่พระภิกษุสามเณร จำนวนกว่า 1,200 รูป ซึ่งประจำอยู่ ณ วัดพระธรรมกาย หอฉันมีพื้นที่กว้างขวางนี้ มักจะถูกใช้เป็นสถานที่ต้อนรับพระภิกษุสามเณรอาคันตุกะ และยังเป็นที่รวมตัวกันของพระภิกษุสงฆ์เพื่อการสวดมนต์ และ/หรือ การประชุม พร้อมทั้งเป็นสถานที่สำหรับสาธุชนในการถวายภัตตาหาร และสิ่งจำเป็นอื่นๆ ที่เหมาะสมต่อนักบวช เช่น ผ้าไตรจีวร คิลานเภสัช เครื่องอุปโภค ผ้าห่ม ดอกไม้ ดอกบัว พวงมาลัย และอื่นๆ
 
;มหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกา จันทร์ ขนนกยูง : [[มหาวิหารคุณยายอาจารย์ฯ]] สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ แด่ผู้สถาปนาวัดพระธรรมกาย โดยเหล่าศิษยานุศิษย์ของคุณยายอาจารย์ฯ ทั้งพระภิกษุและสาธุชน ร่วมกันประกอบพิธีตอกเสาเข็มต้นแรก สถาปนามหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2545 มหาวิหารฯ ก็เสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2546 ทั้งพระภิกษุและสาธุชน ร่วมกันประกอบพิธีอัญเชิญรูปเหมือนทองคำของท่านไปประดิษฐาน ณ ศูนย์กลางของมหาวิหารฯ (พ.ศ. 2546) มหาวิหารคุณยายอาจารย์ฯ เป็นสถาปัตยกรรม ทรงพีรามิดหกเหลี่ยม สีทอง มหาวิหารฯ ตั้งอยู่ท่ามกลางสระน้ำและแมกไม้อันร่มรื่นภายในวัดพระธรรมกาย มหาวิหารฯ มีพื้นที่ใช้ประโยชน์ 2 ชั้น โดยที่ชั้นที่ 1 ได้จัดให้เป็นพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับผลงานที่ท่านได้สร้างและอุทิศไว้ในพระพุทธศาสนา และจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวของท่าน เพื่อบ่งบอกถึงความเรียบง่าย สมถะในการใช้ชีวิตของผู้ที่รักการปฏิบัติธรรม, การเป็นผู้สอนธรรมะ และผู้สถาปนาวัดพระธรรมกาย. ส่วนชั้นที่ 2 สร้างไว้สำหรับเป็นห้องปฏิบัติธรรม โดยมีรูปหล่อทองคำแท้ของอาจารย์แม่ชีจันทร์ ขนนกยูง ตั้งอยู่ ณ กลางห้องปฏิบัติธรรม<ref>[http://www.dhammakaya.net/visitorzone/detail_page_05_th.php วิหารคุณยายอาจารย์อุบาสิการัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง]</ref>
 
;2) มหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกา จันทร์ ขนนกยูง : [[มหาวิหารคุณยายอาจารย์ฯ]] สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ แด่ผู้สถาปนาวัดพระธรรมกาย โดยเหล่าศิษยานุศิษย์ของคุณยายอาจารย์ฯ ทั้งพระภิกษุและสาธุชน ร่วมกันประกอบพิธีตอกเสาเข็มต้นแรก สถาปนามหาวิหารคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2545 มหาวิหารฯ ก็เสร็จสมบูรณ์เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2546 ทั้งพระภิกษุและสาธุชน ร่วมกันประกอบพิธีอัญเชิญรูปเหมือนทองคำของท่านไปประดิษฐาน ณ ศูนย์กลางของมหาวิหารฯ (พ.ศ. 2546) มหาวิหารคุณยายอาจารย์ฯ เป็นสถาปัตยกรรม ทรงพีรามิดหกเหลี่ยม สีทอง มหาวิหารฯ ตั้งอยู่ท่ามกลางสระน้ำและแมกไม้อันร่มรื่นภายในวัดพระธรรมกาย มหาวิหารฯ มีพื้นที่ใช้ประโยชน์ 2 ชั้น โดยที่ชั้นที่ 1 ได้จัดให้เป็นพิพิธภัณฑ์เกี่ยวกับผลงานที่ท่านได้สร้างและอุทิศไว้ในพระพุทธศาสนา และจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ส่วนตัวของท่าน เพื่อบ่งบอกถึงความเรียบง่าย สมถะในการใช้ชีวิตของผู้ที่รักการปฏิบัติธรรม, การเป็นผู้สอนธรรมะ และผู้สถาปนาวัดพระธรรมกาย. ส่วนชั้นที่ 2 สร้างไว้สำหรับเป็นห้องปฏิบัติธรรม โดยมีรูปหล่อทองคำแท้ของอาจารย์แม่ชีจันทร์ ขนนกยูง ตั้งอยู่ ณ กลางห้องปฏิบัติธรรม<ref>[http://www.dhammakaya.net/visitorzone/detail_page_05_th.php วิหารคุณยายอาจารย์อุบาสิการัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง]</ref>
; อาคารร้อยปีคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง : ในปี พ.ศ. 2552 [[พระราชภาวนาวิสุทธิ์]] ได้ดำริให้สร้างอาคารเพื่อเป็นอนุสรณ์และบูชาธรรมแก่อาจารย์แม่ชีจันทร์ ขนนกยูง อีกหลังหนึ่งทดแทนพื้นที่ที่เคยเป็นสภาธรรมกายสากลหลังคาจากที่ได้เคยใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรมตั้งแต่ครั้งสร้างวัดพระธรรมกายได้ไม่นานนัก ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของวัด เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นห้องปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัทสี่ขนาดใหญ่ เป็นห้องประชุมทางด้านวิชาการทางพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยมีเจตจำนงให้เป็นฐานที่ตั้งด้านวิชาการในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลกและวิธีปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน โดยให้ชื่ออาคารหลังนี้ว่า [[อาคารร้อยปีคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง]] โดยมีการระดมทุนร่วมปัจจัยสร้างโดยการทอดกฐินสามัคคี ซึ่งให้ชื่อว่า "กฐินบรมจักรพรรดิ์" ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
 
 
;3) อาคารร้อยปีคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง : ในปี พ.ศ. 2552 [[พระราชภาวนาวิสุทธิ์]] ได้ดำริให้สร้างอาคารเพื่อเป็นอนุสรณ์และบูชาธรรมแก่อาจารย์แม่ชีจันทร์ ขนนกยูง อีกหลังหนึ่งทดแทนพื้นที่ที่เคยเป็นสภาธรรมกายสากลหลังคาจากที่ได้เคยใช้เป็นที่ปฏิบัติธรรมตั้งแต่ครั้งสร้างวัดพระธรรมกายได้ไม่นานนัก ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นอาคารสำนักงานใหญ่ของวัด เป็นโรงเรียนพระปริยัติธรรม เป็นห้องปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัทสี่ขนาดใหญ่ เป็นห้องประชุมทางด้านวิชาการทางพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยมีเจตจำนงให้เป็นฐานที่ตั้งด้านวิชาการในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลกและวิธีปฏิบัติธรรมเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน โดยให้ชื่ออาคารหลังนี้ว่า [[อาคารร้อยปีคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง]] โดยมีการระดมทุนร่วมปัจจัยสร้างโดยการทอดกฐินสามัคคี ซึ่งให้ชื่อว่า "กฐินบรมจักรพรรดิ์" ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
 
== อ้างอิง ==