ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทัศนมิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: oc:Perspectiva (representacion)
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Perspectiva-1.jpg|thumbnail|right|250px|การเขียนทัศนียภาพแบบสองจุด]]
 
'''การเขียนแบบทัศนียภาพ''' หรือ '''ทัศนมิติ''' หรือ '''เพอร์สเปกทีฟ''' ({{lang-en|perspective}}) คือการเขียนภาพให้ปรากฏออกมาในลักษณะที่เหมือนการมองเห็นจริง โดยปรกติมักจะใช้เพื่อการนำเสนอภาพจำลองของแนวความคิดในการออกแบบผลงาน เช่นภาพงานอาคารในงานสถาปัตยกรรม ภาพการตกแต่งภายในสำหรับงานมัณฑนศิลป เป็นต้น
 
== ประเภทของทัศนียภาพ ==
 
* ทัศนียภาพแบบจุดเดียว จะมีจุดลับตา หรือจุดอันตธาน (Vanishing point) จุดเดียว อาจอยู่ด้านซ้าย หรือขวา บนหรือล่าง หรืออยู่กึ่งกลางของภาพก็ได้
** จุดลับตาหรือจุดอันตธาน คือจุดรวมของเส้นฉายของภาพ
เส้น 21 ⟶ 19:
 
== อ้างอิง ==
 
* ชวลิต ดาบแก้ว และ สุภาวดี เหมทานนท์ '''การเขียนทัศนียภาพ.''' ดีแอล เอส. พ.ศ. 2541.
* Gwen White. ''' Perspective: A Guide for Artists, Architects and Designers ''' B.T. Batsford Ltd. 1982. ISBN 978-0713-4341-25