ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระยาวิเชียรปราการ (บุญมา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fryed-peach (คุย | ส่วนร่วม)
+ja:
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาด
บรรทัด 1:
{{แก้ภาษา}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''พระยาหลวงวชิรปราการ''' หรือ '''พระยาจ่าบ้าน''' (พระนามเดิม "บุญมา") เป็นเจ้าผู้ครอง[[จังหวัดเชียงใหม่|นครเชียงใหม่]] ช่วง [[พ.ศ. 2317]] - [[พ.ศ. 2319]] ภายหลังจาก[[พระเจ้ากรุงธนบุรี]]ยึดเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว จึงได้ประกอบพิธีมอบอาญาสิทธิ์ให้พระยาจ่าบ้าน ขึ้นเป็นพระยาหลวงวชิรปราการ '''"เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่"''' ให้เจ้าเมืองเชียงใหม่มีอำนาจปกครองตนเอง ในฐานะเมืองประเทศราชอยู่ภายใต้ราชอาณาจักรสยาม ซึ่งประกอบพิธี ณ [[วัดพระบรมธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร|วัดพระธาตุหริภุญไชย]]
{{เก็บกวาด}}
'''พระยาหลวงวชิรปราการ''' หรือ '''พระยาจ่าบ้าน''' (พระนามเดิม "บุญมา") เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ระหว่าง พ.ศ. 2317 - พ.ศ. 2319
 
== เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่ ==
ภายหลังจาก[[พระเจ้ากรุงธนบุรี]]ยึดเมืองเชียงใหม่ได้แล้ว จึงได้ประกอบพิธีมอบอาญาสิทธิ์ให้พระยาจ่าบ้าน ขึ้นเป็นพระยาหลวงวชิรปราการ '''"เจ้าแผ่นดินเชียงใหม่"''' ให้เจ้าเมืองเชียงใหม่มีอำนาจปกครองตนเอง ในฐานะเมืองประเทศราชอยู่ภายใต้ราชอาณาจักรสยาม ซึ่งประกอบพิธี ณ [[วัดพระบรมธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร|วัดพระธาตุหริภุญไชย]]
 
 
== เมืองเชียงใหม่ภายใต้ร่มบารมี ==
เมืองเชียงใหม่ ในรัชสมัยของพระยาหลวงวชิรปราการ ประสบปัญหาด้านกำลังพลอย่างมาก เนื่องจากบ้านเมืองมีศึกสงครามต่อเนื่องเป็นเวลายาวนาน มีกำลังคนในเมืองเชียงใหม่เพียง 1,900 คน ไม่อาจจะปกป้องรักษาเมืองได้ เมื่อเมืองเชียงใหม่ถูกพม่าล้อมเมืองเป็นเวลา 8 เดือน จนราษฎรประสบภัยอดอยาก จนมีทัพเมืองทางใต้มาช่วยตีจนพม่าแตกพ่ายกลับไป
 
ราวปี [[พ.ศ. 2319]] พระยาหลวงวชิรปราการ ทรงเห็นว่าเมืองนี้มีไพร่ไพร่พลน้อยเกินกว่าจะอยู่ยั้งเป็นเมืองต่อไปได้ จึงย้ายไปพำนักที่[[จังหวัดลำปาง|เมืองลำปาง]] เพเพื่อขอความช่วยเหลือจาก[[เจ้าเจ็ดตน]] พระยาหลวงวชิรปราการ ในฐานะเจ้าเมืองเชียงใหม่ พยายามเคลื่อนไหวโดยกลับมาตั้งมั่นในบริเวณรอยต่อระหว่างเชียงใหม่-ลำพูน จากนั้นได้เคลื่อนไหวจากเมืองลำปางมาที่ท่าวังพร้าว ใน [[พ.ศ. 2320]] ต่อมาจึงมาตั้งมั่นที่[[อำเภอเวียงหนองล่อง|เวียงหนองล่อง]] จากนั้นย้ายไปวังสะแกงสบลี้
 
ในราว [[พ.ศ. 2322]] พระยาหลวงวชิรปราการ ถูกพระเจ้ากรุงธนบุรีลงโทษให้จำคุกที่[[กรุงธนบุรี]]ในข้อหาฆ่าอุปราชก้อนแก้ว ซึ่งในที่สุดพระยาหลวงวชิรปราการ ก็เสด็จพิราลัยที่กรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกปล่อยร้างไปประมาณอีก 20 ปี คือ ระหว่าง พ.ศ. 2319- พ.ศ. 2339 [[พระเจ้ากาวิละ]]จึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง
 
ในราว พ.ศ. 2322 พระยาหลวงวชิรปราการ ถูกพระเจ้ากรุงธนบุรีลงโทษให้จำคุกที่กรุงธนบุรีในข้อหาฆ่าอุปราชก้อนแก้ว ซึ่งในที่สุดพระยาหลวงวชิรปราการ ก็เสด็จพิราลัยที่กรุงธนบุรี เมืองเชียงใหม่ถูกปล่อยร้างไปประมาณอีก 20 ปี คือ ระหว่าง พ.ศ. 2319- พ.ศ. 2339 พระเจ้ากาวิละจึงได้ฟื้นฟูเมืองเชียงใหม่อีกครั้ง
{{เริ่มกล่อง/ราชสมบัติ}}
{{กล่องสืบราชสมบัติ
| ก่อนหน้า = โป่มะยุง่วน
| ตำแหน่ง = [[เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่| ]]
| ราชวงศ์ = -
| ปี = [[พ.ศ. 2317]] - [[พ.ศ. 2319]]
เส้น 26 ⟶ 21:
{{เจ้านครเชียงใหม่}}
 
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่| ๐]]
{{โครงชีวประวัติ}}