ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายตัวกัมมันตรังสี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ht:Radyo-aktivite
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{ฟิสิกส์นิวเคลียร์}}
'''การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี''' ({{lang-en|'''Radioactive decay'''}}) เป็นกระบวนการที่ [[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ของ[[อะตอม]]สูญเสียพลังงานจากการปลดปล่อยอนุภาคที่มีประจุ และ แผ่รังสี การสลายตัว หรือการสูญเสียพลังงานนี้ ส่งผลให้อะตอมที่เป็น parent [[:en:nuclide|nuclide]] เปลี่ยนรูปไป กลายเป็นอะตอมอีกชนิดหนึ่งที่ต่างออกไป,ที่เรียกว่า daughter nuclide ตัวอย่างเช่น อะตอมของ คาร์บอน-14 (C-14) (parent ''คาดว่า "ตัวตั้งต้น"'') แผ่รังสี และเปลี่ยนรูปกลายเป็น อะตอมของ ไนโตรเจน-14 (N-14) (daughter ''คาดว่า "ผลลัพธ์"'') <ref name="๕๐ ปีของเทคโนโลยีคาร์บอน-๑๔ ไขปรัศนีอายุ">{{cite web |last=ยกส้าน|first=ศ. ดร.สุทัศน์|title=๕๐ ปีของเทคโนโลยีคาร์บอน-๑๔ ไขปรัศนีอายุ|publisher =[[ราชบัณฑิตยสถาน]]|url=http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID=884|accessdate=2552-06-09}}</ref> กระบวนการนี้เกิดขึ้นแบบสุ่มในระดับของอะตอม จึงทำให้เป็นไปไม่ได้ที่จะคาดการณ์ว่า อะตอมที่สังเกตจะสลายตัวเมื่อใด แต่ถ้าเป็นการสังเกตการณ์อะตอมในปริมาณมากแล้ว เราสามารถคาดการณ์อัตราการสลายตัวโดยเฉลี่ยได้
 
มาตรฐานในระบบ [[หน่วยเอสไอ|SI]] ในการวัดการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีนั้น มีหน่วยเป็น [[เบ็กเกอเรล]][[:en:Becquerel|(becquerel,Bq)]] หนึ่งหน่วยเบ็กเกอเรลมีนิยามคือ การเปลี่ยนแปลง (หรือการสลายตัว) ต่อวินาที เนื่องจากปริมาณตัวอย่างที่พอเหมาะของสารกัมมันตรังสี มีอะตอมจำนวนมาก ดังนั้นเบ็กเกอเรลจึงเป็นหน่วยวัดที่เล็กในการวัด โดยทั่วไปมักใช้หน่วยวัดนี้ในระดับของ เทอราเบ็กเกอเรล (terabecquerel,TBq) หรือ จิกะเบ็กเกอเรล (gigabecquere,GBq)) อีกหน่วยที่ใช้วัดค่ารังสีคือ [[กูรี]][[:en:Curie|(curie,Ci)]] ซึ่งเดิมนั้นนิยามจากการเกิดปฏิกิริยาของ[[เรเดียม]]บริสุทธิ์ หนึ่งกรัม ([[ไอโซโทป]] Ra-226) ซึ่งโดยนิยามนั้น 1 กูรีเทียบเท่ากับปฏิกิริยาการสลายตัวของ นิวเคลียสของเรเดียมที่อัตรา 3.7x10<sup>10</sup> Bq ปัจจุบันทาง SI ไม่แนะนำให้ใช้หน่วยวัด Ci อีกต่อไป
 
มาตรฐานในระบบ [[หน่วยเอสไอ|SI]] ในการวัดการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีนั้น มีหน่วยเป็น [[เบ็กเกอเรล]] [[:en:Becquerel|(becquerel, Bq)]] หนึ่งหน่วยเบ็กเกอเรลมีนิยามคือ การเปลี่ยนแปลง (หรือการสลายตัว) ต่อวินาที เนื่องจากปริมาณตัวอย่างที่พอเหมาะของสารกัมมันตรังสี มีอะตอมจำนวนมาก ดังนั้นเบ็กเกอเรลจึงเป็นหน่วยวัดที่เล็กในการวัด โดยทั่วไปมักใช้หน่วยวัดนี้ในระดับของ เทอราเบ็กเกอเรล (terabecquerel,TBq) หรือ จิกะเบ็กเกอเรล (gigabecquere,GBq)) อีกหน่วยที่ใช้วัดค่ารังสีคือ [[กูรี]] [[:en:Curie|(curie, Ci)]] ซึ่งเดิมนั้นนิยามจากการเกิดปฏิกิริยาของ[[เรเดียม]]บริสุทธิ์ หนึ่งกรัม ([[ไอโซโทป]] Ra-226) ซึ่งโดยนิยามนั้น 1 กูรีเทียบเท่ากับปฏิกิริยาการสลายตัวของ นิวเคลียสของเรเดียมที่อัตรา 3.7x10<sup>10</sup> Bq ปัจจุบันทาง SI ไม่แนะนำให้ใช้หน่วยวัด Ci อีกต่อไป
 
== คำอธิบาย ==
[[ไฟล์:Radioactive.svg|thumb|[[:en:Hazard_symbol#Radioactive sign|สัญลักษณ์ใบพัดสามใบ (trefoil symbol)]] ที่แสดงถึงสารกัมมันตรังสี]]
[[นิวตรอน]] และ [[โปรตอน]]ที่ประกอบขึ้นเป็นนิวเคลียส รวมไปถึงอนุภาคอื่นๆที่เข้าใกล้มัน ถูกควบคุมด้วยหลายๆปฏิกิริยา [[อันตรกิริยาอย่างเข้ม|แรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม]]([[:en:Strong interaction|'''strong nuclear force''']]) ซึ่งไม่สามารถตรวจพบได้ใน[[:en:Macroscopic scale|ระดับที่มองเห็นด้วยตาเปล่า(macroscopic scale)]] เป็นแรงที่แข็งแกร่งที่สุดสำหรับระยะห่างที่เล็กกว่าอะตอม (subatomic distance) [[:en:Coulomb's law|แรงไฟฟ้าสถิตย์ (electrostatic force)]]ก็เป็นอีกแรงที่สำคัญ และ ใน[[:en:Beta decay|การสลายตัวแบบเบต้า (beta decay)]] [[อันตรกิริยาอย่างอ่อน|แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน]]([[:en:Weak interaction|'''weak nuclear force''']])ก็มีส่วนเกี่ยวข้องด้วย
 
ความเกี่ยวพันกันของแรงเหล่านี้ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ ที่พลังงานถูกปลดปล่อยออกมาในขณะจัดเรียงตัวของอนุภาค ในการเรียงตัวบางแบบของนิวเคลียส มีคุณสมบัติในการเรียงตัวแบบช้าๆ โดยอนุภาคจะเรียงตัวในรูปแบบที่มีพลังงานต่ำกว่า และปลดปล่อยพลังงานออกมา บางคนอาจเปรียบเทียบลักษณะที่เกิดขึ้นกับ หิมะที่อยู่บนเขา ซึ่งมีแรงเสียดทางระหว่างเกล็ดน้ำแข็งที่รองรับน้ำหนักของหิมะ ซึ่งทำให้ระบบมีความไม่เสถียร เนื่องจากยังสามารถเปลี่ยนไปเป็นสถานะที่มีพลังงานต่ำกว่าได้ สิ่งกระตุ้นจะช่วยให้เกิดสภาวะที่มีค่า[[เอนโทรปี]]ที่สูงกว่า ระบบจะเปลี่ยนแปลงเพื่อไปยังสถานะพื้น, ก่อให้เกิดความร้อน และ พลังงานรวมจะถูกกระจายให้กับระดับพลังงานที่สูงกว่า ซึ่งก่อให้เกิดหิมะถล่มในที่สุด พลังงานรวมไม่มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการนี้ แต่เนื่องจาก[[อุณหพลศาสตร์#ข้อที่สอง|กฎของเอนโทรปี]] หิมะถล่มจึงเกิดขึ้นได้ในทิศทางเดียวเท่านั้น คือ[[:en:Stationary state|สถานะพื้น (ground state)]] ซึ่งเป็นสถานะที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด ในการที่พลังงานที่มีจะถูกกระจายไป