ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สดุดีอัสสัมชัญ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Posterweb (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขจุดผิด จัดรูปแบบ เพิ่มการเชื่อมโยง
บรรทัด 1:
'''เพลงสดุดีอัสสัมชัญ'''(Glorify Assumption) เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น “อัสสัมชัญ”[[โรงเรียนอัสสัมชัญ|อัสสัมชัญ]]” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด เป็นเพลงที่ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประจำสถาบันในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย ที่มีนามว่าอัสสัมชัญ หลายแห่ง เว้นแต่[[โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา]], [[โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี]] และ[[โรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ]] ที่มีเพลงประจำโรงเรียนเป็นแบบเฉพาะ แต่ก็ยังคงใช้เพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงของโรงเรียนด้วย
เพลงสดุดีอัสสัมชัญ (GLORIFY ASSUMPTION)
 
โดย ACT3821
ที่มาของเพลงสดุดีอัสสัมชัญนั้น พบว่า ตั้งแต่ พ.ศ.2478 มีเพลงที่ชื่อว่าสดุดีอัสสัมชัญแล้ว ซึ่งแต่งขึ้นในโอกาสสุวรรณสมโภชโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยได้บรรเลงเป็นครั้งแรกในวันที่ [[16 กุมภาพันธ์]] ปีนั้นเอง แต่หลังจากนั้นก็ไม่พบว่ามีการบรรเลงในโอกาสใดอีก ต่อมาในปี พ.ศ.2481 นายธนิต ราชภัณฑารักษ์ (OMAC 9916) ซึ่งได้ศึกษาดนตรีจาก นายโชติ สิงหเสนี (OMAC 8722) ได้แต่งคำร้องเพลงสดุดีอัสสัมชัญขึ้น โดยอาศัยทำนองเพลง Le Defile du Regiment ในหนังสือ Le Livre de Musique ของ Claude Auge เป็นหนังสือเรียนวิชาดนตรี ซึ่งภราดาหลุยส์ โนบิรอง (เดินทางสู่ประเทศไทยเมื่อ 07/01/19077 มกราคม พ.ศ. 2450 มรณภาพเมื่อ 05/06/19675 มิถุนายน พ.ศ.2510 มีฉายาว่า หลุยส์แตร) เป็นผู้สอน และเพลงสดุดีอัสสัมชัญจึงกลายเป็นเพลงประจำสถาบันนับแต่นั้น
เพลงสดุดีอัสสัมชัญ เป็นเพลงหนึ่งที่ได้ชื่อว่าเป็นเพลงที่ปลุกความเป็น “อัสสัมชัญ” ในบรรดานักเรียนให้พลุ่งพล่านในสายเลือด เป็นเพลงที่ถูกนำไปใช้เป็นเพลงประจำสถาบันในเครือมูลนิธิคณะภราดาเซนต์คาเบรียลแขวงประเทศไทย ที่มีนามว่าอัสสัมชัญ หลายแห่ง เว้นแต่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี และโรงเรียนอัสสัมชัญสมุทรปราการ ที่มีเพลงประจำโรงเรียนเป็นแบบเฉพาะ แต่ก็ยังคงใช้เพลงสดุดีอัสสัมชัญเป็นเพลงของโรงเรียนด้วย
ที่มาของเพลงสดุดีอัสสัมชัญนั้น พบว่า ตั้งแต่ พ.ศ.2478 มีเพลงที่ชื่อว่าสดุดีอัสสัมชัญแล้ว ซึ่งแต่งขึ้นในโอกาสสุวรรณสมโภชโรงเรียนอัสสัมชัญ โดยได้บรรเลงเป็นครั้งแรกในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ปีนั้นเอง แต่หลังจากนั้นก็ไม่พบว่ามีการบรรเลงในโอกาสใดอีก
ต่อมาในปี พ.ศ.2481 นายธนิต ราชภัณฑารักษ์ (OMAC 9916) ซึ่งได้ศึกษาดนตรีจากนายโชติ สิงหเสนี (OMAC 8722) ได้แต่งคำร้องเพลงสดุดีอัสสัมชัญขึ้น โดยอาศัยทำนองเพลง Le Defile du Regiment ในหนังสือ Le Livre de Musique ของ Claude Auge เป็นหนังสือเรียนวิชาดนตรี ซึ่งภราดาหลุยส์ โนบิรอง (เดินทางสู่ประเทศไทยเมื่อ 07/01/1907 มรณภาพเมื่อ 05/06/1967 มีฉายาว่า หลุยส์แตร) เป็นผู้สอน และเพลงสดุดีอัสสัมชัญจึงกลายเป็นเพลงประจำสถาบันนับแต่นั้น
มีข้อสังเกตเกี่ยวกับการเขียนชื่อและเนื้อเพลงสดุดีอัสสัมชัญ ในกรณีที่ใช้ในสถาบันอื่นๆ นอกจากโรงเรียนอัสสัมชัญ คือการเติมเครื่องหมายไปลยาลน้อย[[ไปยาลน้อย]] (ฯ) หลังคำว่าอัสสัมชัญ ทั้งชื่อและเนื้อเพลง
แม้ว่าเพลงสดุดีอัสสัมชัญ จะเป็นเสมือนเพลงหลักของโรงเรียนในคณะภราดาเซนต์คาเบรียลไปแล้วก็ตาม หากแต่ยังคงเป็นเพลงที่มีความสำคัญต่อนักเรียน รวมถึงผู้มี “สายเลือดอัสสัมชัญ“ ทุกคน ทำหน้าที่เป็นดังสายใยเชื่อมโยงพี่น้อง แม้ต่างสถาบัน หากแต่ความเป็นอัสสัมชัญนั้นคือความเป็นหนึ่งเดียว ที่จะถูกรื้อฟื้นทุกครั้ง ที่เสียงเพลงสดุดีอัสสัมชัญได้ยิน และถูกเปล่งออกมาอย่างพร้อมเพรียง
“อัสสัมชัญจงมาพร้อมใจกันเถิด มาชูเชิด AC ไว้ชั่วดินฟ้า”
 
แก้ไขเพิ่มเติม 02/01/2005
 
บรรณานุกรม
คณะภราดาเซนต์คาเบรียล “ศตวรรษสมโภช”. 2544
 
โรงเรียนอัสสัมชัญ “ศตวรรษอัสสัมชัญ อนุสรณ์ครบรอบ 100 ปี”. 2528
 
โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา “เพชรบูรพา 1999 – 2000” .2543
 
ม.อารัณย์ โพธิอ๊ะ “เพลงสดุดีอัสสัมชัญ (GLORIFY ASSUMPTION) .อัสสัมชัญสาส์น
 
ม.วิชิต กาฬกาญจน์ “ประวัติเพลงโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี”.หิรัญสมโภชโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี 2529
 
สมาคมอัสสัมชัญ “ประวัติเพลงโรงเรียนอัสสัมชัญ”.อัสสัมชัญประวัติ 115 ปี อุโฆษสาร 2000 2543
 
 
แม้ว่าเพลงสดุดีอัสสัมชัญ จะเป็นเสมือนเพลงหลักของโรงเรียนใน[[คณะภราดาเซนต์คาเบรียล (มูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย)|คณะภราดาเซนต์คาเบรียล]]ไปแล้วก็ตาม หากแต่ยังคงเป็นเพลงที่มีความสำคัญต่อนักเรียน รวมถึงผู้มี “สายเลือดอัสสัมชัญ“ ทุกคน ทำหน้าที่เป็นดังสายใยเชื่อมโยงพี่น้อง แม้ต่างสถาบัน หากแต่ความเป็นอัสสัมชัญนั้นคือความเป็นหนึ่งเดียว ที่จะถูกรื้อฟื้นทุกครั้ง ที่เสียงเพลงสดุดีอัสสัมชัญได้ยิน และถูกเปล่งออกมาอย่างพร้อมเพรียง
 
“อัสสัมชัญจงมาพร้อมใจกันเถิด มาชูเชิด AC ไว้ชั่วดินฟ้า”
 
== เนื้อร้อง เพลงสดุดีอัสสัมชัญ ==
เส้น 47 ⟶ 29:
 
อัสสัมชัญ จงมาพร้อมใจกันเถิด มาชูเชิด เอซี ไว้ชั่วดินฟ้า (ซ้ำ (*)/(**))
 
== อ้างอิง ==
*คณะภราดาเซนต์คาเบรียล “ศตวรรษสมโภช”. 2544
*โรงเรียนอัสสัมชัญ “ศตวรรษอัสสัมชัญ อนุสรณ์ครบรอบ 100 ปี”. 2528
*โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา “เพชรบูรพา 1999 – 2000” .2543
*ม.อารัณย์ โพธิอ๊ะ “เพลงสดุดีอัสสัมชัญ (GLORIFY ASSUMPTION) .อัสสัมชัญสาส์น
*ม.วิชิต กาฬกาญจน์ “ประวัติเพลงโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี”.หิรัญสมโภชโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี 2529
*สมาคมอัสสัมชัญ “ประวัติเพลงโรงเรียนอัสสัมชัญ”.อัสสัมชัญประวัติ 115 ปี อุโฆษสาร 2000 2543