ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมเปิล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
M-Bot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำอัตโนมัติ (-<references/> +{{รายการอ้างอิง}}) ด้วยบอต
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
| range_map_caption = การกระจายพันธุ์
}}
'''เมเปิล''' (''Acer'' มาจาก[[ภาษาละติน]]แปลว่า: แหลม,คม หมายถึงปลายแหลมของใบ) หรือ '''ก่วม'''<ref name="ลักษณะ">ลักษณะประจำวงศ์พรรณไม้ ดร.ก่องการดา ชยามฤต กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช</ref> คือสกุลของ[[ต้นไม้]]หรือ[[พุ่มไม้]] ซึ่งแบ่งได้หลายประเภทในวงศ์เดียวกัน มีประมาณ 125 [[สปีชีส์]] ส่วนมากเป็นพืชในแถบเอเชีย แต่ก็มีบ้างในแถบ[[ยุโรป]],ตอนเหนือของ[[ทวีปแอฟริกา]]และ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]
 
มันถูกจัดเข้าสู่สกุลครั้งแรกโดย โชเชฟ ปีตตอง เดอ ตัวเนฟอร์ต (Joseph Pitton de Tournefort) นัก[[พฤกษศาสตร์]]ชาว[[ฝรั่งเศส]]ในปี ค.ศ. 1700
บรรทัด 39:
 
== การกระจายพันธุ์ในประเทศไทย ==
ในประเทศไทยพบเมเปิลอยู่ 6 ชนิดคือ
* ก่วมแดง (''Acer calcaratum Gagnep.'') พบบน[[ภูกระดึง]] จังหวัด[[เลย]]<ref name="ลักษณะ" />
* ก่วมเชียงดาว[[ก่วมแดง]] (''Acer chiangdaoense Santisukcalcaratum'' Gagnep.) พบบน[[ดอยเชียงดาวภูกระดึง]] จังหวัด[[เชียงใหม่เลย]]<ref name="ลักษณะ" />
* ก่วมขาวก่วมเชียงดาว (''Acer laurinum Hassk.chiangdaoense'' Santisuk) พบในภาคเหนือ บน[[ดอยอินทนนท์เชียงดาว]] จังหวัด[[เชียงใหม่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]]<ref name="ลักษณะ" />
* ก่วมขาว (''Acer laurinum'' Hassk.) พบในภาคเหนือ [[ดอยอินทนนท์]] จังหวัดเชียงใหม่ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref name="ลักษณะ" />
* ก่วม (''Acer oblongum'' Wall. ex DC.)<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้">เต็ม สมิตินันทน์ [http://web3.dnp.go.th/botany/ThaiPlantName/Default.aspx ''ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย''] สำนักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช, พ.ศ. 2549</ref>
* ก่วมใบใหญ่ (''Acer thomsonii'' Miq.)<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้"/>
* ก่วมภูคา (''Acer wilsonii'' Rehder)<ref name="สำนักงานหอพรรณไม้"/>
 
== โรคและแมลง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เมเปิล"