ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mattis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
{{Infobox Treaty
| name = อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง<br><small>First Geneva Convention</small>
เส้น 17 ⟶ 18:
| wikisource =
}}
'''อนุสัญญาเจนีวาฉบับที่หนึ่ง''' ({{lang-en|First Geneva Convention}})ว่าด้วยการดูแลรักษาทหารผู้บาดเจ็บและเจ็บป่วยในสนามรบ คือ[[สนธิสัญญา]]หนึ่งในสี่ฉบับของ[[อนุสัญญาเจนีวา]]ที่วางรากฐานของ[[กฎหมายระหว่างประเทศ]]เกี่ยวกับการพิทักษ์ผู้เป็นเหยื่อของสงคราม<ref>Jean S. Pictet. “The New Geneva Conventions for the Protection of War Victims” The American Journal of International Law Vol. 45, No. 3 (1951): pg. 462.</ref> อนุสัญญาลงนามครั้งแรกโดยประเทศใน[[ยุโรป]]สิบสองประเทศเมื่อวันที่ [[22 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1864]] ที่เมือง[[เจนีวา]]ใน[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์]] และมีผลบังคับใช้ในปีเดียวกัน อนุสัญญาดังกล่าวได้รับการแก้ไขครั้งสำคัญในปี ค.ศ. 1906, ค.ศ. 1929 และ ค.ศ. 1949 อนุสัญญาเจนีวามีความสัมพันธ์อย่างแน่นหนากับ[[คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ]] ทั้งอนุสัญญาและคณะกรรมการกาชาดต่างก็เป็นผู้เริ่มต้นและผู้บังคับใช้ข้อตกลงที่ระบุไว้ในข้อตกลง
 
== สรุปบทบัญญัติ ==
อนุสัญญาได้รับการแก้ไขต่อมาในปี ค.ศ. 1906, ค.ศ. 1929 และ ค.ศ. 1949 อนุสัญญาเจนีวามีความสัมพันธ์อย่างแน่นหนากับ[[คณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ]] ทั้งอนุสัญญาและคณะกรรมการกาชาดต่างก็เป็นผู้เริ่มต้นและผู้บังคับใช้ข้อตกลงที่ระบุไว้ในข้อตกลง
 
อนุสัญญาแต่เดิมเมื่อปี ค.ศ. 1864 มีเพียง 10 มาตรา ก่อนที่จะได้รับการเพิมเติมมาเป็น 64 มาตราในปัจจุบัน สนธิสัญญาดังกล่าวคุ้มครองทหารที่ต้องออกจากการรบเนื่องจากความเจ็บป่วยหรือได้รับบาดเจ็บ เช่นเดียวกับบุคคลทางการแพทย์หรือบุคคลทางศาสนา และพลเรือนในพื้นที่ทำการรบ บทบัญญัติสำคัญของสนธิสัญญา ได้แก่:
* ในมาตรา 12 ทหารที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วยผู้ต้องออกจากการรบควรได้รับการปฏิบัติอย่างเมตตากรุณา และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่ควรสังหาร ทำให้บาดเจ็บ ทรมาน หรือนำตัวไปทดลองทางชีววิทยา มาตราดังกล่าวถือเป็นหลักสำคัญที่สุดของสนธิสัญญา และจำกัดความหลักการที่นำมาใช้กับส่วนที่เหลือของสนธิสัญญา รวมไปถึงข้อตกลงที่จะให้ความเคารพหน่วยแพทย์และสิ่งก่อสร้างทางการแพทย์ (ส่วนที่สาม) การมอบหมายให้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บ (ส่วนที่สี่) อาคารและวัตถุดิบ (ส่วนที่ห้า) ยานพาหนะขนส่งทางการแพทย์ (ส่วนที่หก) และเครื่องหมายที่ใช้ในเชิงป้องกัน (ส่วนที่เจ็ด)
 
{{โครงส่วน}}
 
== อ้างอิง ==