ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุกตนันท์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
inline +โครงส่วน
บรรทัด 1:
{{เว็บย่อ|radioKU}}
{{กล่องข้อมูล สถานีวิทยุ
| ชื่อสถานี = สถานีวิทยุ มก.<br/>Radio KU
เส้น 20 ⟶ 19:
| intl =
}}
'''สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' คือเป็นวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตรและบริการชุมชน โดยเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเผยแพร่ในระบบ A.M. Stereo ที่มีผู้ฟังมากที่สุด{{อ้างอิง}} โดยเน้นการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางการเกษตรและบริการชุมชนครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
 
'''สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์''' คือวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตรและบริการชุมชน โดยเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเผยแพร่ในระบบ A.M. Stereo ที่มีผู้ฟังมากที่สุด โดยเน้นการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศทางการเกษตรและบริการชุมชนครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ
 
== ประวัติความเป็นมา ==
 
[[พ.ศ. 2492]] อธิการบดีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยนั้น (อธิการบดี ม.ก. พ.ศ. 2489-2501) คือ ท่านอาจารย์คุณหลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ (ทองดี เรศานนท์) ส่งเสริมและเผยแพร่และชักจูงให้คนไทยหันมาสนใจในวิชาการเลี้ยงไก่สมัยใหม่ โดยผ่านวิทยุกระจายเสียง นับว่าได้ผลดีมาก{{อ้างอิง}} และกระจายสู่เกษตรกรได้รวดเร็ว
 
สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 กันยายน [[พ.ศ. 2504]]<ref>http://radio.ku.ac.th/aboutus/history/index.html</ref> เริ่มต้นด้วยเครื่องส่งที่มีกำลังออกอากาศเพียง 250 วัตต์
 
{{โครงส่วน}}
 
== ระบบการแพร่สัญญาณ ==
บรรทัด 34:
 
== ระบบข่ายสื่อสาร ==
1.# ระบบ SSB (Single Side Band) เป็นระบบการสื่อสารที่สามารถติดต่อได้ตั้งแต่ระยะปานกลาง ไปจนถึงระยะไกล เพื่อใช้ติดต่อระหว่างสถานีวิทยุ ม.ก.ส่วนกลาง กับสถานีวิทยุ ม.ก.ต่างจังหวัด เพราะสถานีวิทยุ ม.ก. ในต่างจังหวัดในขณะนั้นไม่มีโทรศัพท์ การติดต่อจำเป็นต้องใช้วิทยุสื่อสารระบบ SSB ซึ่งสามารถติดต่อได้ทั่วประเทศ โดยใช้ความถี่ 79.35 kHz และ 7698 kHz
2.# ระบบ VHF (Very High Frequency) เป็นข่ายสื่อสารสำหรับติดต่อทั้งในระยะใกล้และระยะไกล มีความถี่ย่าน VHF เป็นของตัวเองถึง 2 ความถี่ คือ 142,200 เม็กกะเฮิตซ์ และความถี่ 142,700 เม็กกะเฮิตซ์
 
3.# ระบบ UHF (Utra High Frequency)วิทยุโทรศัพท์ระหว่าง 2 วิทยาเขตใช้ความถี่ 995 และ 925 เมกกะเฮิตซ์ นอกจะนำมาใช้ในการติดต่อวิทยุโทรศัพท์แล้ว ยังนำมาใช้เป็นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ไปยังวิทยาเขตกำแพงแสนของเครือข่ายนนทรีเน็ต และโครงข่าย Uninetอีกด้วย
2. ระบบ VHF (Very High Frequency) เป็นข่ายสื่อสารสำหรับติดต่อทั้งในระยะใกล้และระยะไกล มีความถี่ย่าน VHF เป็นของตัวเองถึง 2 ความถี่ คือ 142,200 เม็กกะเฮิตซ์ และความถี่ 142,700 เม็กกะเฮิตซ์
 
3. ระบบ UHF (Utra High Frequency)วิทยุโทรศัพท์ระหว่าง 2 วิทยาเขตใช้ความถี่ 995 และ 925 เมกกะเฮิตซ์ นอกจะนำมาใช้ในการติดต่อวิทยุโทรศัพท์แล้ว ยังนำมาใช้เป็นเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ไปยังวิทยาเขตกำแพงแสนของเครือข่ายนนทรีเน็ต และโครงข่าย Uninetอีกด้วย
 
== คลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ ==