ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุภาว์ เทวกุล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
substituteTemplate
บรรทัด 32:
สุภาว์เป็นครูสอนหนังสือที่[[โรงเรียนราชินี]]อยู่ระยะหนึ่ง แล้วสมรสกับ[[หม่อมราชวงศ์ทัดเทพ เทวกุล]] มีบุตรธิดา 5 คน คือ หม่อมหลวงสุภรัตน์ เทวกุล หม่อมหลวงภาว์รัตน์ จารุจินดา (สมรสกับพันโทสนิทพงศ์ จารุจินดา) หม่อมหลวงกุลรัตน์ อึ้งอร่าม (สมรสกับนายอภิสิทธิ์ อึ้งอร่าม) หม่อมหลวงเทพรัตน์ เทวกุล และหม่อมหลวงเบ็ญจารัตน์ โควินท์ทวีวัฒน์ <ref>{{user:2T/ref/เสี้ยวศตวรรษ}}</ref> โดยสามีเสียชีวิตตั้งแต่บุตรสาวคนโตอายุเพียง 10 ปี และบุตรสาวคนสุดท้องอายุเพียงสิบเดือน สุภาว์ต้องเลี้ยงดูลูกๆ ทั้งห้าคนตามลำพัง โดย[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ทรงพระมหากรุณาธิคุณ พระราชทานเงินเพิ่มเป็นค่าเลี้ยงดูบุตรธิดาทุกเดือน
 
สุภาว์ เริ่มงานเขียนเรื่องสั้นครั้งแรก ตีพิมพ์ในนิตยสาร "โบว์แดง" รายสัปดาห์ และนิตยสาร "ศรีสัปดาห์" หลังจากสามีเสียชีวิต ได้เริ่มเขียนนวนิยายเป็นอาชีพ เริ่มตั้งแต่เรื่อง "หนี้หัวใจ" "ศึกหัวใจ" "ขัตติยา" "ไฟใต้น้ำ" "คาวใจ" "มนุษย์" "กาวาง" "ไฟ" "ผู้ดีเดินตรอก" "หัวใจที่ต้องไขลาน" และมีผลงานเรื่องสั้นกว่า 300 เรื่อง <ref name="ร้อย">{{user:2T/ref/100นักประพันธ์}}</ref>อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ประทีป เหมือนนิล
|ชื่อหนังสือ=100 นักประพันธ์ไทย
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพ
|พิมพ์ที่=สุวีริยาสาส์น
|ปี=2542
|หน้า=479
|ISBN=974-8267-78-4
}}
</ref>
 
ในระยะหลัง สุภาว์หันมาเขียนบทละครโทรทัศน์ อีกทั้งยังเป็นอาจารย์พิเศษ ผู้บรรยายเรื่องการเขียนบท ให้กับ[[คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และ[[มหาวิทยาลัยกรุงเทพ]] ผลงานที่เป็นที่รู้จัก เช่น บทละครเรื่อง "ประตูสีเทา" และ "ปริศนา"