ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 1:
'''วัดญาณสังวราราม''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร สังกัดธรรมยุตนิกาย ตั้งอยู่ที่ ตำบลห้วยใหญ่ อำเภท[[อำเภอบางละมุง]] [[จังหวัดชลบุรี]] มี[[สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]] (เจริญ สุวฑฺฒโน) ครั้งดำรงตำแหน่งสมเด็จพระญาณสังวร เป็นองค์ประธานจัดสร้างวัด
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
วัดญาณสังวราราม เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร สังกัดธรรมยุตนิกาย ตั้งอยู่ที่ ตำบลห้วยใหญ่ อำเภทบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน) ครั้งดำรงตำแหน่งสมเด็จพระญาณสังวร เป็นองค์ประธานจัดสร้างวัด
ในปี พ.ศ. 2519 นายแพทย์ขจร และ คุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ พร้อมด้วยบุตร-ธิดา ได้มีศรัทธาถวายที่ดินเพื่อขอให้สร้างวัด 2 ครั้งเนื้อที่ประมาณ 300 ไร่เศษ ต่อมาคณะผู้สร้างวัดได้ซื้อที่ดินเพิ่มรวมได้เนื้อที่ 366 ไร่ 2 งาน 11 ตารางวา ไม่รวมถึงพื้นที่ตามโครงการพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัว รัชกาลที่ 9 ประมาณ 2,500 ไร่
วัดญาณสังวราราม คณะผู้สร้างวัดมุ่งที่จะสร้างเพื่อน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายพระราชกุศลให้กับบูรพมหากษัตริย์ และ พระบรมจักรีราชวงศ์ ในฐานะที่ทรงแสดงพระองค์เป็นองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภ์ มีการสร้างปูชนียสถานสำคัญๆ เพื่อเทิดพระเกียรติ ดังนี้
'''1. '''อุโบสถ'''''' ขนาดกว้าง 13.30 เมตร ยาว 21.00 เมตร สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบรีมหาราช โดยดัดแปลงจากแบบพระอุโบสถเก่าคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหาร
'''2. พระพุทธปฏิมาประธานประจำอุโบสถ''' ได้รับการถวายพระนามว่า "สมเด็จพระพุทธญาณนเรศวร์" สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีขนาดประมาณองค์พระพุทธชินสีห์ในประอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร หน้าพระเพลา 5 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทางเททองหล่อ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2523 ณ บริเวณมณฑลพิธีหน้าพระอุโบสถเก่าคณะรังษี วัดบวรวิหาร
'''3. พระบรมธาตุเจดีย์มหาจักรีพิพัฒน์''' สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และพระบรมราชวงศ์จักรี มีฐานกว้าง 39.00 เมตร สูง 39.00 เมตร และได้เริ่มดำเนินการสร้างมาตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2524 ชั้นล่างเป็นห้องโถงใหญ่ เพื่อการบำเพ็ญกุศลต่าง ๆ ชั้นที่สองประดิษฐานพระเจดีย์ทองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีชนวนจากพื้นปฐพีถึงที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ด้านนอกชั้นที่สามมีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ 3 องค์ คือ พระภปร.ด้านหน้า พระไพรีพินาศ(ด้านขวาของพระภปร. ) และพระชินราชสีหศาสดา (ด้านซ้ายของพระ ภปร.) ส่วนชั้นที่ 2 เป็นซุ่มตราพระมหาจักรีซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงอันเชิญขึ้นประดิษฐานเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2528
'''4. พระมหามณฑปพุทธบาท ภปร.สก. ''' มีขนาดกว้าง 9.00 เมตร สูง 33.00 เมตร ปรารภสร้างด้วยความซาบซิ้งในพระคุณของพระพุทธเจ้า และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งยิ่งใหญ่พ้นพรรณา เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็ได้ทรงพระมหากรุณาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อันเชิญพระปรมาภิไธยย่อ ภปร. และพระนามาภิไธยย่อ สก. ประดิษฐานที่องค์พระมหามณฑป
'''5. ศาลาอเนกกุศล สว.กว.''' สร้างเป้นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว กว้าง 17.00 เมตร ยาว 31.00 เมตร น้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ และสมเด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาพระฤกษ์ เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2526 ใช้เป็นศาลาฉัน
'''6. พระพุทธปฏิมา อปร.มอ. ประจำศาลาอเนกกุศล สว.กว.''' สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปรเมทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 แห่งพระมหาจักรีบรมราชวงศ์ และสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญพระปรมาภิไธยย่อ "อปร." ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล และพระนามภิไธยย่อ "มอ." ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกนาถประดิษฐานที่ผ้าทิตย์ "อปร.มอ." เป็นพระปางสมธิแบบพระ ภปร. หน้าพระเพลา 5 ศอก 1 คืบ 8 นิ้ว
'''7. ศาลาอเนกกุศล มวก.สธ. ''' มีขนาดกว้าง 17.40 เมตร ยาว 21.00 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ชั้นล่างแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 จัดเป็นห้องเก็บวัสดุ ตอนที่ 2 ซึ่งอยู่ใต้ฐานซุกซีพระพุทธไพรีพินาศ จัดเป็นถังเก็บน้ำสะอาดเพื่อการบริโภค ตอนที่ 3 จัดเป้นห้องเรียนพระปริยัติธรรมและห้องสมุดวัด ชั้นบนพื้นปูหินอ่อนไทย เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไพรีพินาศ ใช้เป็นที่สวดมนต์ทำวัตรค่ำ อบรมกัมมัฎฐานเจริญจิตภาวนา เป็นต้น สร้างน้อมเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ สยามมกุฎราชกุมาร และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี
 
== ประวัติ ==
นอกจากนี้ คณะผู้สร้างวัดญาณสังวราราม ยังสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพรหมเทพ เทวา มีองค์ ท้าววิรุฬหกมหาราช ท้าวมหาราชจตุโลกบาลแห่งทิศทักษิณ ซึ่งให้ความดูแลรักษาพระพุทธศาสนา และ ประเทศไทย ซึ่งตั้งอยู่ในโลกบาลทิศใต้ โดยสร้างเทวาลัยถวาย อย่างสง่างามชื่อ '''"วนอุทยานจตุรังสี"''' และ'''สร้างศาลาท่านท้าวริรุฬหรมหาราช พุทธบัณฑิต ''' กว้าง 14.00 เมตร ยาว 24.00 เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น สำหรับเป็นที่พักอาศัยของพุทธศาสนิกชน ผู้มาประพฤติปฏิบัติรักษาศีลฟังธรรมและเจริญจิตภาวนาระยะสั้น 3 - 7 วัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทางพระสุหร่าย ทรงเจิมพระรูปท่านท้าววิรุฬหกมหาราช ทั้งสองพระรูป แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานไว้ที่หน้าบันทั้งสองข้าง เมื่องวันที่ 27 มิถุนายน 2527 สร้างถวายกุศลท่านท้าววิรุฬหกมหาราชโลกบาล
ในปี [[พ.ศ. 2519]] นายแพทย์ขจรและคุณหญิงนิธิวดี อ้นตระการ และครอบครัว ได้ถวายที่ดินเพื่อขอให้สร้างวัดเนื้อที่ประมาณ 300 ไร่เศษ ต่อมา คณะผู้สร้างวัดได้ซื้อที่ดินเพิ่มรวมได้เนื้อที่ 366 ไร่ 2 งาน 11 ตารางวา เพื่อขอสร้างวัด วัดได้รับการอนุญาตให้สร้างเป็นสำนักสงฆ์ญาณสังวรารามเมื่อ [[พ.ศ. 2520]] และเปลี่ยนเป็นวัดญาณสังวรารามเมื่อวันที่ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2523]] โดยได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]]ตาม[[พระราชกฤษฎีกา]]ลงวันที่ [[25 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2525]]
 
== ปูชนียสถานที่สำคัญ ==
 
'''1. # '''พระอุโบสถ'''''' ขนาดกว้าง 13.30 เมตร ยาว 21.00 เมตร สร้างขึ้นเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวาย[[สมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบรีมหาราช ]] โดยดัดแปลงจากแบบพระอุโบสถเก่าคณะรังษี [[วัดบวรนิเวศวิหาร]]
# '''2. พระพุทธปฏิมาประธานประจำอุโบสถ''' ได้รับการถวายพระนามว่า "สมเด็จพระพุทธญาณนเรศวร์" สร้างน้อมเกล้าฯ ถวาย[[สมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีขนาดประมาณองค์พระพุทธชินสีห์ในประอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร หน้าพระเพลา 5 ศอก 1 คืบ 7 นิ้ว ]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินทางเททองหล่อ เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2523 ณ บริเวณมณฑลพิธีหน้าพระอุโบสถเก่าคณะรังษี วัดบวรนิเวศวิหาร
#'''3. พระบรมธาตุเจดีย์มหาจักรีพิพัฒน์''' สร้างน้อมเกล้าฯ ถวาย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ]]และ[[พระบรมราชวงศ์จักรี]] มีฐานกว้าง 39.00 เมตร สูง 39.00 เมตร และได้เริ่มดำเนินการสร้างมาตั้งแต่วันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 ชั้นล่างเป็นห้องโถงใหญ่ เพื่อการบำเพ็ญกุศลต่าง ๆ ชั้นที่สอง 2 ประดิษฐานพระเจดีย์ทองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีชนวนจากพื้นปฐพีถึงที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ด้านนอกชั้นที่สาม 3 มีซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูปสำคัญ 3 องค์ คือ พระ ภปร. (ด้านหน้า ) พระไพรีพินาศ (ด้านขวาของพระภปร. ) และพระชินราชสีหศาสดา (ด้านซ้ายของพระ ภปร.) ส่วนชั้นที่ 2 เป็นซุ่มตราพระมหาจักรีซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงอันเชิญขึ้นประดิษฐานเมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2528
#'''4. พระมหามณฑปพุทธบาท ภปร. สก. ''' มีขนาดกว้าง 9.00 เมตร สูง 33.00 เมตร ปรารภสร้างขึ้นด้วยความซาบซิ้งในพระคุณของพระพุทธเจ้า และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ซึ่งยิ่งใหญ่พ้นพรรณา เมื่อความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็ได้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระมหากรุณาพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อันเชิญพระปรมาภิไธยย่อ ภปร. และพระนามาภิไธยย่อ สก. ประดิษฐานที่องค์พระมหามณฑป
#'''5. ศาลาอเนกกุศล สว.กว.''' สร้างเป้นเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นเดียว กว้าง 17.00 เมตร ยาว 31.00 เมตร สร้างขึ้นเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวาย[[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ]]และ[[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯณิวัฒนา]] และสมเด็จพระราชดำเนินทรงวางศิลาพระฤกษ์ เมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2526 ใช้เป็นศาลาฉัน
# '''6. พระพุทธปฏิมา อปร.มอ. ประจำศาลาอเนกกุศล สว.กว.''' เป็นพระปางสมาธิแบบพระ ภปร. สร้างน้อมเกล้าฯ ถวาย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมทปรเมนทรมหาอานันทมหิดล รัชกาลที่ 8 แห่งพระมหาจักรีบรมราชวงศ์ ]]และ[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญพระปรมาภิไธยย่อ "อปร." ในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล และพระนามภิไธยย่อ "มออปร." และพระนามภิไธยย่อในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกนาถประดิษฐานที่ผ้าทิตย์ "อปร.มอ." เป็นพระปางสมธิแบบพระ ภปร. หน้าพระเพลา 5 ศอก 1 คืบ 8 นิ้วประดิษฐานที่ผ้าทิตย์
#'''ศาลาอเนกกุศล มวก.สธ. ''' สร้างขึ้นเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวาย[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร]]และ[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี]] เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ชั้น ชั้นบนพื้นปูหินอ่อนไทยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธไพรีพินาศ ใช้เป็นที่สวดมนต์ทำวัตรค่ำ อบรมกัมมัฎฐานเจริญจิตภาวนา เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.mots.go.th/download/Magazines_of_Mots/mots_magazine_vol5june-july52.pdf วารสารกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา]
 
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในจังหวัดชลบุรี]]