ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ฉัตรา (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
ก่อนสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระจะเสด็จสวรรคตนั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวได้แสดงพระราชประสงค์ที่จะให้พระราชโอรสของพระองค์สืบต่อราชสมบัติแห่ง[[กรุงศรีอยุธยา]] ทั้งๆ ที่ในขณะนั้นเจ้าฟ้าพร พระอนุชาในพระองค์ทรงดำรงตำแหน่งที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]อยู่ ในขั้นแรกนั้นสมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ที่จะให้เจ้าฟ้านเรนทรเสด็จขึ้นครองราชย์แต่พระองค์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยเนื่องจากพระมหาอุปราชก็ยังคงมีพระชนม์อยู่ พระองค์จึงทรงออกผนวช ดังนั้น สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวจึงทรงยกราชสมบัติให้เจ้าฟ้าอภัยสืบราชสันตติวงศ์ต่อ
 
เหตุการณ์ในครั้งนี้สร้างความไม่พอใจให้กับกรมพระราชวังบวรเป็นอย่างมาก ซึ่งนำไปสู่การเกิดศึกกลางเมืองระหว่างวังหน้าและวังหลวงขึ้น โดยกรมพระราชวังบวรเป็นฝ่ายชนะและเสด็จขึ้นครองราชสมบัติทรงพระนามว่า [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]] หลังจากนั้น พระองค์มีพระราชดำรัสให้นำตัว[[เจ้าฟ้าอภัย]]และ[[เจ้าฟ้าปรเมศร์ไปปรเมศร์]]ไป[[สำเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์]]ตามโบราณราชประเพณี
 
ส่วนเจ้าฟ้านเรนทรนั้นดำรงเพศบรรพชิตตลอดมา โดยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงสถาปนาให้[[ทรงกรม]]ที่ ''กรมขุนสุเรนทรพิทักษ์'' เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ทรงสนิทกับสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศเป็นอย่างยิ่ง จนทำให้[[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนเสนาพิทักษ์]] (เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร) เกิดความระเวงและลอบทำร้ายเจ้าฟ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์แต่ท่านไม่ทรงได้รับบาดเจ็บ เหตุการณ์ในครั้งนั้นทำให้สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธกรมขุนเสนาพิทักษ์มากและมีพระราชโองการให้จับตัวกรมขุนเสนาพิทักษ์มาให้ได้ แต่ในระหว่างกรมขุนเสนาพิทักษ์ได้เสด็จออกผนวชจึงทรงพ้นจากภัยในครั้งนี้ได้
 
เจ้าพระกรมขุนสุเรนทรพิทักษ์ไม่ปรากฏใน[[พระราชพงศาวดาร]]ว่าสิ้นพระชนม์เมื่อใด แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะก่อนที่สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศจะทรงสถาปนา[[กรมขุนเสนาพิทักษ์]]ขึ้นเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]เมื่อปี พ.ศ. 2284
 
== พระตระกูล ==