ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กอปปีเลฟต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SilvonenBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ro:Copyleft
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
 
ในภาษาไทย ยังไม่มีคำที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปสำหรับ copyleft
[[สมเกียรติ ตั้งนโม]] นักวิชาการ[[มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน]] ใช้ว่า "ลิขซ้าย" คงการล้อ ขวา-ซ้าย ไว้<ref name="midnightuniv">หน้าแรก [http://www.midnightuniv.org/ เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน] มีข้อความ "ลิขซ้าย 2548, 2549, 2550 : สมเกียรติ ตั้งนโม"</ref>
ส่วน [[สมชาย ปรีชาศิลปกุล]] อาจารย์นิติศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] ใช้คำว่า "นิรสิทธิ์" หมายถึง ระบบที่ไม่มีหรือไม่ให้สิทธิคุ้มครอง<ref name="copyleft-somchai">[http://www.prachatai.com/05web/th/home/16202 รายงาน: จากลิขสิทธิ์ – สละสิทธิ์ – สู่ครีเอทีฟคอมมอนส์], ประชาไท, 5 เม.ย. 2552</ref>
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 20:
ในเวลาต่อมา บริษัท Symbolics ได้แก้ไขปรับปรุงความสามารถของตัวแปลคำสั่งภาษา Lisp ให้ดีขึ้น แต่เมื่อสตอลแมนแสดงความต้องการที่จะเข้าถึงส่วนที่แก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมเหล่านั้น ก็ได้รับการปฏิเสธจากบริษัท
 
ด้วยเหตุนี้ ในปี [[ค.ศ. 1984]] สตอลแมนจึงได้เริ่มแผนการต่อต้านและกำจัดพฤติกรรมและวัฒนธรรมของการหวงแหนซอฟต์แวร์ไว้ ([[proprietary software]]) เหล่านี้ โดยเขาได้เรียกพฤติกรรมเหล่านี้ว่า[[การกักตุนซอฟต์แวร์]] ([[:en:software hoarding|software hoarding]]) <ref>http://www.oreilly.com/openbook/freedom/ch07.html</ref>
 
เนื่องจากสตอลแมนเห็นว่าในระยะสั้น มันคงจะเป็นไปไม่ได้ที่จะกำจัดกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบัน รวมถึงสิ่งที่เขามองว่าเป็นสิ่งผิดปกติให้หมดไปอย่างถาวร เขาจึงเลือกที่จะใช้กลไกของกฎหมายที่มีอยู่มาเป็นเครื่องมือเพื่อบรรลุสิ่งที่เขาต้องการ เขาได้สร้างสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ์ในแบบของเขาขึ้นมาเอง โดยสัญญาอนุญาตที่เขาสร้างขึ้นมาถือเป็นสัญญาอนุญาตแบบ copyleft ตัวแรก คือ Emacs General Public License<ref>http://www.free-soft.org/gpl_history/emacs_gpl.html</ref> ซึ่งต่อมาสัญญาอนุญาตนี้ก็ได้รับการพัฒนาปรับปรุงจนกระทั่งกลายเป็น [[GPL|GNU General Public License (GPL)]] ซึ่งเป็นสัญญาอนุญาตแบบ[[ซอฟต์แวร์เสรี]]ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดอันหนึ่ง