ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สี่สุดยอดวรรณกรรมจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งโครงอย่างรวดเร็ว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''สี่สุดยอดวรรณกรรมจีน''' ([[ภาษาจีน{{zh|จีน]] : c=四大名著 |p=sì dà míng zhù}}) คือ[[นวนิยาย]]ของ[[ประเทศจีน|จีน]] 4 เรื่องซึ่งเหล่าบัณฑิตยอมรับว่าเป็น[[วรรณกรรม]]อันยิ่งใหญ่และมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมเรื่องอื่นๆ ของประเทศ ประกอบด้วย
* ''[[สามก๊ก]]'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''Romance of the Three Kingdoms''; [[ภาษาจีน{{zh|จีน]]: c=三國演義 |p= sān guó yǎn yì}}) - [[พ.ศ. 1873]] (ค.ศ. 1330)
* ''[[ซ้องกั๋ง]]'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''Water Margin''; [[ภาษาจีน{{zh|จีน]]: c=水滸傳 |p=shuǐ hǔ zhuàn}}) - [[พ.ศ. 2116]] (ค.ศ. 1573)
* ''[[ไซอิ๋ว]]'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''Journey to the West''; [[ภาษาจีน|จีน]]: {{zh|c=西遊記| p=xī yóu jì}}) - [[พ.ศ. 2133]] (ค.ศ. 1590)
* ''[[ความฝันในหอแดง]]'' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''Dream of the Red Chamber''; [[ภาษาจีน({{zh|จีน]]: c=紅樓夢|p=hóng lóu mèng}}) - [[พ.ศ. 2335]] (ค.ศ. 1792)
 
แต่บางคนก็นับ [[บุปผาในกุณฑีทอง]] ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: ''The Plum in the Golden Vase''; [[ภาษาจีน|จีน]]: 金瓶梅, จินผิงเหมย (จีนกลาง), กิมปังบ๊วย (จีนแต้จิ๋ว)) เป็นวรรณกรรมคลาสสิกเรื่องที่ห้าด้วย ในช่วงปลาย[[ราชวงศ์หมิง]]ถึงต้น[[ราชวงศ์ชิง]] ''บุปผาในกุณฑีทอง'' นับว่าเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนร่วมกับนวนิยายอีกสามเรื่องแรก เรียกรวมกันว่า "สี่วรรณกรรมอันยิ่งใหญ่" (四大奇書,四大奇书) แต่ต่อมาเรื่อง ''บุปผาในกุณฑีทอง'' ถูกต่อต้าน รัฐบาลจีนจึงแบนนวนิยายเรื่องนี้เนื่องจากมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับเซ็กซ์มากเกินไป และจัดให้ ''ความฝันในหอแดง'' ขึ้นมาเป็นหนึ่งในสี่สุดยอดวรรณกรรมจีนแทนที่