ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ่าวไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Gulf of Thailand.png|right|thumb|250px|อ่าวไทย]]
 
'''อ่าวไทย''' เป็น[[ภูเขา]]น่านน้ำที่อยู่ใน[[ทะเลจีนใต้]] [[มหาสมุทรแปซิฟิก]] ล้อมรอบด้วย[[ประเทศไทย]] [[ประเทศมาเลเซีย|มาเลเซีย]] [[ประเทศกัมพูชา|กัมพูชา]] และ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]]
 
อ่าวไทยไม่เพียงแต่มีความสำคัญในทางภูมิศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ แต่ยังมีความสำคัญในทางกฎหมายอาญาอย่างยิ่ง โดยถือเป็นอาณาเขตที่ศาลไทยมีอำนาจพิจารณาคดีเกี่ยวกับความผิดที่เกิดขึ้นในอาณาบริเวณอ่าวไทยตามที่กำหนดเขตไว้ในกฎหมายให้ถือเป็นราชอาณาจักรไทยด้วย
 
== พื้นที่ของอ่าวไทย ==
อ่าวไทยมีพื้นที่ 300,858.76 [[ตารางกิโลเมตร]]<ref>ข้อมูลอุทกศาสตร์น่านน้ำไทย, 2550 : ออนไลน์.</ref> เขตแดนของอ่าวไทยกำหนดด้วยเส้นที่ลากจากแหลมกาเมาหรือ[[แหลมญวน]]ทางตอนใต้ของเวียดนาม ไปยังเมือง[[โกตาบารู]]ในชายฝั่งมาเลเซีย ซึ่งอยู่ห่างกัน 381 กิโลเมตร โดยจุดเหนือสุดของอ่าวไทย ตรงปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] นิยมเรียกกันว่า "อ่าวประวัติศาสตร์รูปตัว ก." ซึ่งต่างชาติเรียก "อ่าวกรุงเทพฯ"
 
มีพื้นที่ 300,858.76 [[ตารางกิโลเมตร]]<ref>ข้อมูลอุทกศาสตร์น่านน้ำไทย, 2550 : ออนไลน์.</ref> เขตแดนของอ่าวไทยกำหนดด้วยเส้นที่ลากจากแหลมกาเมาหรือ[[แหลมญวน]]ทางตอนใต้ของเวียดนาม ไปยังเมือง[[โกตาบารู]]ในชายฝั่งมาเลเซีย ซึ่งอยู่ห่างกัน 381 กิโลเมตร โดยจุดเหนือสุดของอ่าวไทย ตรงปาก[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] นิยมเรียกกันว่า "อ่าวประวัติศาสตร์รูปตัว ก." ซึ่งต่างชาติเรียก "อ่าวกรุงเทพฯ"
 
ชายฝั่งทะเลอ่าวไทยทอดยาว 1,840 กิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 45 เมตร ซึ่งถือว่าตื้นมาก จุดที่ลึกที่สุดลึกเพียง 80 เมตร จึงทำให้การแลกเปลี่ยนระหว่างน้ำจืดกับน้ำเค็มเป็นไปอย่างเชื่องช้า น้ำจืดจำนวนมากที่ไหลมาจากแม่น้ำต่าง ๆ ทำให้น้ำทะเลในอ่าวไทยมีระดับความเค็มต่ำประมาณร้อยละ 3.05-3.25 และมีตะกอนสูง แต่บริเวณที่ลึกกว่า 50 เมตร มีความเค็มสูงกว่านี้ประมาณร้อยละ 3.4% ซึ่งเกิดจากน้ำทะเลที่ไหลเข้ามาจากทะเลจีนใต้
เส้น 14 ⟶ 13:
 
=== ความสำคัญ ===
 
{{ดูเพิ่มที่2|กฎหมายอาญาไทย#การใช้กฎหมายอาญา}}
 
เส้น 35 ⟶ 33:
พระราชบัญญัติกำหนดเขตจังหวัดในอ่าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502 เป็นพระราชบัญญัติที่ตราขึ้นเมื่อ [[23 กันยายน]] [[พ.ศ. 2502]] ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 76 ตอนที่ 92 หน้าที่ 430 วันที่ [[29 กันยายน]] ปีเดียวกันนั้น และมีผลใช้บังคับในวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
 
เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติดังกล่าว ดังนี้ เนื่องจากเขตจังหวัดต่าง ๆ ทางทะเลในอ่าวไทยตอนใน ยังไม่เป็นที่ชัดแจ้ง เป็นเหตุให้เกิดความยุ่งยากในทางปฏิบัติบางประการจึงควรจะได้กำหนดเสียให้เป็นที่ชัดแจ้ง เพื่อประโยชน์ในการปกครองและความสะดวกของประชาชน จึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้
 
โดยมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าวกำหนดเขตอ่าวไทยไว้ดังต่อไปนี้ ''(ดูแผนที่ด้านขวาประกอบ)''
เส้น 67 ⟶ 65:
จากจุดอักษร จ. บนเส้นแบ่งเขตจังหวัดระหว่างจังหวัดธนบุรีกับ[[จังหวัดสมุทรปราการ]] ขนานกับเส้นลองจิจูดไปบรรจบกันที่จุดหมายเลข (3) ละติจูด 13 องศา-13 ลิปดา-00 ฟิลิปดาเหนือ, ลองจิจูด 100 องศา-27 ลิปดา-30 ฟิลิปดาตะวันออก
 
สำหรับ พื้นที่จังหวัดธนบุรีในแผนที่นั้น ปัจจุบันคือ [[เขตบางขุนเทียน]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
==== จังหวัดสมุทรปราการ ====
เส้น 103 ⟶ 101:
== รายชื่อจังหวัดของประเทศไทยที่มีชายฝั่งติดกับอ่าวไทย ==
 
เรียง[[ทวนเข็มนาฬิกา]]จาก[[ชายแดน]][[กัมพูชา]]ที่[[จังหวัดตราด]] วกขึ้นอ่าวไทยตอนตัว ก. แล้วลงไปจนจรดชายแดน[[มาเลเซีย]]ที่[[จังหวัดนราธิวาส]]
# [[ตราด]]
# [[จันทบุรี]]
เส้น 123 ⟶ 121:
 
== ฤดูปิดอ่าว ==
 
ทุกวันที่ [[15 กุมภาพันธ์]] ถึง [[15 พฤษภาคม]] ของทุกปี อันเป็นช่วงที่สัตว์น้ำเศรษฐกิจโดยเฉพาะ[[ปลาทู]]และสัตว์น้ำอื่น ๆ วางไข่ เลี้ยงตัวในวัยอ่อนและเจริญเติบโต เป็นฤดูปิดอ่าว [[กรมประมง]]จะประกาศควบคุมการทำประมงตั้งแต่ [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] [[จังหวัดชุมพร]] และ [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 26,400 [[ตารางกิโลเมตร]]<ref>"ปิดอ่าวไทย 3 เดือน อนุรักษ์ปลาทูและสัตว์น้ำอื่น ๆ", 2549 : ออนไลน์.</ref>
 
การประกาศใช้มาตรการปิดอ่าวนี้มีมาตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2496]] ถ้าชาวประมงรายใดฝ่าฝืน ต้องระวางโทษปรับตั้งแต่ 5,000-10,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งจำทั้งปรับ<ref>"กรมประมงสั่งปิดฝั่ง 'อ่าวไทย' 3 เดือน ห้ามจับสัตว์น้ำฤดูวางไข่-ตั้งแต่ประจวบฯถึงสุราษฏร์", 2
แนวหน้า, 2551 : ออนไลน์.</ref>