ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรัพย์สิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Clumsy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 94:
สำหรับทรัพย์ตามกฎหมายไทยนั้นมีบัญญัติใน [http://www.lawamendment.go.th/council/ow.asp?ID=4089&LastNode=True&Read= ป.พ.พ. ม.137] และเมื่อพิจารณาในบทบัญญัติถัดไป คือ [http://www.lawamendment.go.th/council/ow.asp?ID=4089&LastNode=True&Read= ม.138] ที่ว่า ''"ทรัพย์สิน หมายความรวมทั้งทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซึ่งอาจมีราคาและอาจถือเอาได้"'' ทำให้นักกฎหมายไทยมีความเห็นเกี่ยวกับนิยามของทรัพย์เป็นสองฝ่าย
 
'''ฝ่ายแรก''' อาทิ [[บัญญัติ สุชีวะ]] [[ศาสตราจารย์]][[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref>บัญญัติ สุชีวะ, 2551 : 3.</ref> และ[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] [[ศาสตราจารย์|ศาสตราจารย์ (พิเศษ)]] [[คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]<ref name = Seni-11>เสนีย์ ปราโมช, 2521 : 11.</ref> เห็นว่า ในเมื่อทรัพย์สินมีความหมายเช่นนั้น ทรัพย์จึงต้องหมายความถึงวัตถุมีรูปร่างอันอาจมีราคาและอาจถือเอาได้ด้วย เพราะ ม.137 ต้องพิจารณาประกอบ ม.138
 
'''ฝ่ายที่สอง''' อาทิ [[พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล)]] [[ประธานศาลฎีกา]]<ref>พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี (บุญช่วย วณิกกุล), 2502 : 331-335.</ref> [[หลวงประสาทศุภนิมิต (ประมูล สุวรรณศร)]] ศาสตราจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยลัยธรรมศาสตร์<ref>ประมูล สุวรรณศร, 2525 : 8-14.</ref> และ[[มานิตย์ จุมปา]] [[รองศาสตราจารย์]]คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<ref name = Manit-5>มานิตย์ จุมปา, 2551 : 5.</ref> เห็นว่า ทรัพย์หมายความเฉพาะวัตถุที่มีรูปร่างเท่านั้น โดยเฉพาะมานิตย์ จุมปา นั้นให้ความเห็นว่า<ref name = Manit-5/>