ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สู่ฝันอันยิ่งใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งไม่เป็นสารานุกรมด้วยสจห.
สร้างเชิงอรรถให้ใหม่ แทนที่ของเดิม
บรรทัด 23:
“...เรื่องนี้เป็นละครซ้อนละคร เป็นการผสมผสานที่มีเสน่ห์มากระหว่างความเป็นจริงกับความใฝ่ฝัน ระหว่างความเป็นเรียลลิสติกกับโรแมนติก เป็นสไตล์ซ้อนที่กลับไปกลับมา เพราะฉะนั้น งานของเราก็คือจะสื่ออย่างไรให้คนดูได้ระดับความคิดเช่นนี้ทั้งสองระดับ ทำอย่างไรให้เรียลลิสติกกับโรแมนติกเจอกันพอดี แล้วเรื่องนี้ยังเป็นละครเพลง เป็นรูปแบบละครที่รวมการแสดงหลายๆ อย่าง นับตั้งแต่การแสดง เต้นรำ และร้องเพลง รวมทั้งดนตรีเข้ามาด้วย เราต้องผสมผสานศิลปะเหล่านี้เข้ากันเพื่อให้ความบันเทิงกับคนดู และขณะเดียวกันก็สามารถสื่อสาระของละครได้ด้วย...” ('''ยุทธนา มุกดาสนิท''' ผู้กำกับการแสดง)
 
“...เป็นการเอาความลึก ความกว้าง และความสูงของโรงละครแห่งชาติมาใช้ให้เป็นประโยชน์แก่ด้านจินตนาการ...เกือบจะเปลือยโรงละคร ไร้มิติ ไร้เวลา ไร้สถานที่ จะขยายขอบเขตของโรงละครออกไปอย่างที่คนดูไม่เคยเห็น จากนั้นจะค่อยๆ สร้างขอบเขตของเวทีด้วยองค์ประกอบด้านฉากและแสง เพื่อเสริมความเปลี่ยนแปลงของฉากที่เปลี่ยนไปในแต่ละองก์ แล้วก็กลับไปสู่ความกว้าง ลึก สูง ของคุกใต้ดิน ซึ่งกว้าง ลึก และสูง อย่างไร้มิติ ไร้เวลา และไร้สถานที่...” ('''บุรณี รัชไชยบุญ''' ผู้กำกับเทคนิค) <ref>“ละครเพลงอมตะ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่” (1แผ่นพับประชาสัมพันธ์ 2530)</ref>
 
แนวทางต่างๆ เหล่านี้ ก็ยังคงเป็นแนวคิดหลักเมื่อนำ “สู่ฝันอันยิ่งใหญ่” กลับคืนสู่เวทีอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2551
บรรทัด 79:
ในโปรดักชั่น 2530 มีการเปลี่ยนนักแสดงนำจากที่กำหนดไว้อย่างกะทันหัน คือเซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้ จากเดิมที่จะแสดงนำโดย พรศิล จันทนากร (ละครเวที ''กาลิเลโอ'' 2528) จนมีการเปิดแถลงข่าวที่โรงแรมสยามอินเตอร์คอนติเนนตัลไปแล้วในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2530 ทว่าหลังจากนั้นไม่นาน ตามกระแสข่าวอย่างเป็นทางการ ระบุว่าพรศิลขอถอนตัว ทางคณะละครสองแปดจึงติดต่อทาบทามให้ศรัณยู วงศ์กระจ่าง และจรัล มโนเพ็ชร มารับบทดังกล่าวแทน
 
'''สิงหาคม - กันยายน 2530'''(2) <ref>สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2530</ref>
 
เซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้: ศรัณยู วงศ์กระจ่าง (28 ส.ค. – 2 ก.ย.) / จรัล มโนเพ็ชร (3 – 9 ก.ย.)
บรรทัด 108:
 
 
'''มิถุนายน 2551''' (3)<ref>สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2551</ref>
 
เซรบานเตส/ดอน กิโฮเต้: เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์
บรรทัด 155:
ในที่สุดอลองโซจึงกลับคืนสู่ “ความปกติ” ในสภาพชายชราผู้หมดแรงใจที่จะมีชีวิตอยู่ กระทั่งอัลดอนซ่าผู้ที่เขาเรียกว่า “ดัลซีเนีย” ได้หวนกลับมากระตุ้นเตือนให้เขาระลึกถึงความงดงามของความใฝ่ฝันเป็นครั้งสุดท้ายในชีวิต
ท้ายที่สุด เมื่อศาลศาสนามาเรียกตัวเซรบานเตสกับคนรับใช้ขึ้นไปรับการไต่สวน ซึ่งอาจหมายถึงการถูกจับเผาทั้งเป็น เขาก็ได้รับต้นฉบับลายมือเรื่องดอนกิโฮเต้ กลับคืน พร้อมกันกับที่คนคุกทั้งหลายได้ตระหนักถึงคุณค่าของการมีชีวิตเป็นมนุษย์ที่มีความหวังอีกครั้งหนึ่ง (4)<ref>ศรัณย์ ทองปาน, “หลังม่านลามันช่า หรือการกลับมาสู่ฝันอันยิ่งใหญ่” '''นิตยสารสารคดี''' กันยายน 2551</ref>
 
 
== ลำดับเพลงร้อง ==
 
 
ในการแปลและดัดแปลงสำหรับการแสดงเป็นภาษาไทย ในโปรดักชั่นปี 2530 มีการตัดเพลงร้องในฉบับภาษาอังกฤษออกไป 2 เพลง คือ ''What Do You Want of Me?'' (อัลดอนซ่า) และ ''To Each His Dulcinea'' (บาทหลวง) ต่อมาในโปรดักชั่นปี 2551 จึงมีการเพิ่มฉากและเพลง ''What Do You Want of Me?'' กลับเข้ามาใหม่ ในชื่อ ''ทำไม'' (เนื้อเพลงภาษาไทยเขียนโดยวิสา คัญทัพ) ลำดับเพลงร้องที่ระบุในที่นี้ อ้างอิงตามสูจิบัตรการแสดง 2551 (5)<ref>สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2551 </ref> ภาษาอังกฤษในวงเล็บแรกคือชื่อเพลงเดิมตามต้นฉบับภาษาอังกฤษ ในวงเล็บถัดมา เป็นชื่อตัวละครที่ร้องเพลงนั้นๆ
 
1. ''ตัวเราคือ ดอนกิโฮเต้'' (Man of La Mancha) (ดอนกิโฮเต้,ซานโช)
เส้น 192 ⟶ 191:
 
== อ้างอิง ==
 
 
1.“ละครเพลงอมตะ สู่ฝันอันยิ่งใหญ่” (แผ่นพับประชาสัมพันธ์ 2530)
 
2.สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2530
3.สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2551
4.ศรัณย์ ทองปาน, “หลังม่านลามันช่า หรือการกลับมาสู่ฝันอันยิ่งใหญ่” '''นิตยสารสารคดี''' กันยายน 2551
5.สูจิบัตร '''สู่ฝันอันยิ่งใหญ่''' 2551
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==