ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Session Initiation Protocol"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Suriyun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suriyun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
[[โพรโทคอล]] SIP ทำงานอยู่บน Application Layer และถูกออกแบบโดยไม่คำนึงถึงชนิดของ Transport Layer ที่ใช้ในการส่งข้อมูล SIP สามารถทำงานบน Transmission Control Protocol (TCP), User Datagram Protocol (UDP), หรือ Stream Control Transmission Protocol (SCTP) ได้ โพรโทคอล SIP ทำงานในลักษณะ text-based ซึ่งมีลักษณะการทำงานคล้าย Hypertext Transfer Protocol (HTTP) และ Simple Mail Transfer Protocol (SMTP)
 
==การออกแบบโพโทคอลโพรโทคอล==
[[โพรโทคอล]] SIP ถูกออกแบบมาคล้ายกับ[[โพรโทคอล]] HTTP ในส่วนของการร้องขอและการตอบรับ (request/response) ระหว่างลูกข่าย (client) ซึ่งเป็นผู้เริ่มต้นการเชื่อมต่อโดยส่งการร้องขอ (request) การทำงานบางอย่าง กับเครื่องแม่ข่าย (server) และ SIP ยังใช้ข้อมูล header, กฎการเข้ารหัส และหมายเลขสถานะ (status codes) เหมือนกับ HTTP อีกด้วย
 
ในการส่งสัญญาณมีเดีย SIP จะต้องทำงานร่วมกับ[[โพรโทคอล]]อื่นๆในการส่งสัญญาณ แต่ SIP เท่านั้นที่จะถูกใช้เป็นตัวเริ่มต้นการเชื่อต่อการสื่อสาร (communication session) โดยปกติ SIP ฝั่งลูกข่าย (client) จะใช้[[โพรโทคอล]] TCP หรือ UDP พอร์ตหมายเลข 5060 หรือ 5061 ในการเชื่อมต่อเครื่องแม่ข่าย (server) หรือ SIP endpoint ซึ่งพอร์ตหมายเลข 5060 จะใช้ในการส่งสัญญาณแบบไม่เข้ารหัส (non-encrypted signaling traffic) ส่วนพอร์ตหมายเลข 5061 จะใช้ในกรณีที่มีการส่งสัญญาณแบบเข้ารหัส โดยจะทำงานร่วมกับ Transport Layer Security (TLS) อีกที โดยหลักๆแล้ว SIP จะทำหน้าที่ติดต่อหรือยกเลิกการส่งสัญญาณเสียงหรือภาพวิดีโอ ซึ่งโปรแกรมประยุกต์หลายชนิดที่ต้องอาศัย SIP ในการทำงานเช่น โปรแกรม instant messaging ที่สามารถส่งภาพและเสียงไปพร้อมกันได้ นอกจากนั้น ยังมีเอกสารหลากหลายฉบับที่เกี่ยวข้องกับ SIP ที่ถูกประกาศโดย [[IETF]] เช่น Real-time Transport Protocol (RTP), Session Description Protocol (SDP) ซึ่ง SDP จะถูกใช้ร่วมกับ SIP สำหรับส่งตัวแปรที่ใช้ในการเชื่อมต่อข้อมูลมิเดียเช่น หมายเลขพอร์ต , [[โพรโทคอล]], การเข้ารหัสสัญญาณมิเดีย (codecs) เป็นต้น
 
 
 
{{โครง}}