ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาทนายความ (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
{{ช่วยดูหน่อย}}
'''สภาทนายความ''' เป็นองค์กรผู้ประกอบวิชาชีพทาง[[กฎหมาย]]ที่สำคัญอย่างยิ่งสถาบันหนึ่งในกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยและนานาประเทศ มีสถานะเป็น[[นิติบุคคล]]ตามกฎหมายก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 โดยมีนายกและกรรมการสภาทนายความที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกทนายความทั่วประเทศเป็นผู้บริหาร อยู่ในวาระการดำรงตำแหน่งคราวละสามปี และไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
 
บรรทัด 12:
 
==ประวัติความเป็นมา==
สืบเนื่องมาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2508 ที่ได้มีการจำกัดสิทธิของ[[ทนายความ]] และเกิดผลกระทบต่อทนายความชั้นสอง รวมไปถึงประชาชนต่าง ๆ ที่มีความต้องการความรู้ความสามารถของทนายความชั้นสอง จึงทำให้เกิดประกายแห่งแนวความคิดในการก่อตั้งสถาบันของทนายความเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมการประกอบวิชาชีพของทนายความเอง เช่นเดียวกันกับนานาประเทศ ดังนั้น ในปี [[พ.ศ. 2517]] นาย[[มารุต บุญนาค]] นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสมาชิก[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] ในขณะนั้น จึงได้เสนอร่างพระราชบัญญัติทนายความเพื่อก่อตั้ง "สภาทนายความ" เข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้วยความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของทนายความการเคลื่อนไหวและต่อสู้ที่เป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่องกัน เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 15 ปี จึงได้ประสบความสำเร็จ โดยวันศุกร์ที่ [[19 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2528]] ที่ประชุมวุฒิสภาในการประชุมครั้งที่ 11/2528 ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัติทนายความ และ [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 เมื่อวันที่ [[10 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]] โดยประกาศใช้ใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] ฉบับพิเศษเล่มที่ 102 ตอน 129 วันที่ [[19 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]] พระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ [[20 กันยายน]] [[พ.ศ. 2528]] เป็นต้นมาจนปัจจุบัน
สืบเนื่องมาจากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ.2508 ที่ได้มีการจำกัดสิทธิของทนายความและ
เกิดผลกระทบต่อทนายความชั้นสอง รวมไปถึงประชาชนต่างๆ ที่มีความต้องการความรู้ความสามารถของทนายความชั้นสอง
จึงทำให้เกิดประกายแห่งแนวความคิดในการก่อตั้งสถาบันของทนายความเพื่อทำหน้าที่ในการควบคุมการประกอบวิชาชีพของทนายความเอง เช่นเดียวกันกับนานาประเทศ ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2517 นายมารุต บุญนาค นายกสภาทนายความแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นสมาชิก
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ในขณะนั้น จึงได้เสนอร่างพระราชบัญญัติทนายความเพื่อก่อตั้งสภาทนายความเข้าสู่การพิจารณาของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ด้วยความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกันของทนายความการเคลื่อนไหวและต่อสู้ที่เป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่องกัน เป็นระยะเวลายาวนานกว่า 15 ปี
จึงได้ประสบความสำเร็จ โดยวันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม 2528 ที่ประชุมวุฒิสภาในการประชุมครั้งที่ 11/2528 ได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ความเห็นชอบในร่างพระราชบัญญัติทนายความและพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 เมื่อวันที่
10 กันยายน 2528 โดยประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษเล่มที่ 102 ตอน 129 วันที่ 19 กันยายน 2528 พระราชบัญญัติทนายความ พ.ศ. 2528 จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน 2528 เป็นต้นมาจนปัจจุบัน
 
==วัตถุประสงค์ของสภาทนายความ==
เส้น 27 ⟶ 22:
#ส่งเสริม ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนในเรื่องเกี่ยวกับกฎหมาย
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{โครงหน่วยงาน}}
* [http://www.lawyerscouncil.or.th/ สภาทนายความ]
[[Category:กฎหมาย]]
[[หมวดหมู่:องค์กรวิชาชีพ]]
{{โครงหน่วยงาน}}