ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาพลีนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
ไร้สติ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
ภาพนี้เป็นภาพที่รู้จักกันดี และ ใช้กันอย่างกว้างขวาง เรียกได้ว่าเป็นภาพมาตรฐานในวงการการประมวลผลภาพดิจิทัล เลยก็ว่าได้ ผู้ใช้รูปนี้เป็นส่วนใหญ่ก็ไม่ได้รับรู้ที่มาของรูปนี้แต่อย่างใด รูปนี้ได้ถูกใช้และตีพิมพ์ ในผลงานทางวิชาการอย่างกว้างขวาง อยู่เป็นเวลานาน
 
ที่มาของรูปนี้เป็นรูปของ คุณ Lena Soderberg (ne Sjööblom) ชาวสวีเดน ซึ่งปรากฏ ในหน้ากลางของ นิตยสารเพลย์บอย ในปี 1972 และภาพนี้ได้ถูก ดิจิไตซ์ ที่ Signal and Image Processing Institute (SIPI) มหาวิทยาลัยเซาเทิร์นเคลิฟอร์เนีย โดย Alexander Sawchuk ซึ่งเป็น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ในขณะนั้น
 
ในบทความ ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter [http://www-2.cs.cmu.edu/~chuck/lennapg/pcs_mirror/may_june01.pdf เดือนพฤษภาคม 2001] ของ IEEE Professional Communication Society ได้กล่าวว่าในปี 1973 นั้น ในขณะที่ คุณ Alexander Sawchuk กับนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของเขา กำลังง่วนหาภาพดีๆเพื่อที่จะ สแกนไปใช้ลงในงานตีพิมพ์สัมนาของเพื่อนร่วมงาน หลังจากที่ได้พยายามหาจากภาพที่มีอยู่ ก็มีแต่ภาพที่ไม่เร้าใจ ภาพที่เค้ามองหาอยู่นั้น จะเป็นภาพหน้าคน สี กระดาษผิวมัน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของระดับแสงสีที่ดี ก็พอดีมีคนเดินถือ นิตยสารเพลย์บอยฉบับใหม่เข้ามาพอดี พวกเขาก็เลยตัดเอาภาพท่อนบน เนื่องจากเขาต้องการภาพขนาด 512*512 และขึดความสามารถของ สแกนเนอร์ ทีใช้นั้นซึ่งสแกนได้ 100 เส้นต่อนิ้ว จึงตัดได้ภาพขนาด 5.12 นิ้ว ลงมาถึงหัวไหล่ของคนในภาพ หลังจากได้แสกนเสร็จก็ปรากฏว่าภาพไม่สมบูรณ์ ขาดหายไป 1 เส้น แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด จีงตัดสินใจใช้ภาพนั้นโดยทำการเพิ่มเส้นให้ครบโดยการคัดลอกเอาจากเส้นถัดไป หลังจากเสร็จก็ไม่ได้ความคิดใดๆว่าภาพที่ได้จะมาเป็นมาตรฐาน คุณ Sawchuk ได้กล่าวว่า ทางกลุ่มได้แจกจ่ายรูปให้กับผู้่ที่มาเยี่ยมเยือนที่ขอไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะได้ทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์ ของ อัลกอริทึม ในการประมวลผลภาพได้ ซึ่งในที่สุดภาพนี้ก็ได้แพร่หลายเป็นที่นิยมใช้อย่างกว้างขวาง
 
จาก บทความ ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter [http://www-2.cs.cmu.edu/~chuck/lennapg/pcs_mirror/may_june01.pdf เดือนพฤษภาคม 2001] ของ IEEE Professional Communication Society
จนในภายหลังที่ได้รู้ที่มากันอย่างกว้างขวาง ก็เกิดเป็นกรณีโตแย้ง ว่าไม่เหมาะสมที่จะใช้ภาพนี้เนื่องจากที่มาของภาพ และ การที่เพลย์บอย ก็ได้มีความพยายามจะฟ้องร้องเรื่องสิทธิการใช้ภาพ
ในบทความ<br>" ของ Jamie Hutchinson ใน Newsletter [http://www-2.cs.cmu.edu/~chuck/lennapg/pcs_mirror/may_june01.pdf เดือนพฤษภาคม 2001] ของ IEEE Professional Communication Society ได้กล่าวว่าในปี 1973 นั้น ในขณะที่ คุณ Alexander Sawchuk กับนักเรียนในระดับบัณฑิตศึกษาของเขา กำลังง่วนหาภาพดีๆเพื่อที่จะ สแกนไปใช้ลงในงานตีพิมพ์สัมนาของเพื่อนร่วมงาน หลังจากที่ได้พยายามหาจากภาพที่มีอยู่ ก็มีแต่ภาพที่ไม่เร้าใจ ภาพที่เค้ามองหาอยู่นั้น จะเป็นภาพหน้าคน สี กระดาษผิวมัน เพื่อให้เห็นความแตกต่างของระดับแสงสีที่ดี ก็พอดีมีคนเดินถือ นิตยสารเพลย์บอยฉบับใหม่เข้ามาพอดี พวกเขาก็เลยตัดเอาภาพท่อนบนจากหน้ากลาง เนื่องจากเขาต้องการภาพขนาด 512*512 และขึดความสามารถของ สแกนเนอร์ ทีใช้นั้นซึ่งสแกนได้ 100 เส้นต่อนิ้ว จึงตัดได้ภาพขนาด 5.12 นิ้ว ลงมาถึงหัวไหล่ของคนในภาพ หลังจากได้แสกนเสร็จก็ปรากฏว่าภาพไม่สมบูรณ์ ขาดหายไป 1 เส้น แต่เนื่องจากมีเวลาจำกัด จีงตัดสินใจใช้ภาพนั้นโดยทำการเพิ่มเส้นให้ครบโดยการคัดลอกเอาจากเส้นถัดไป หลังจากเสร็จก็ไม่ได้มีความคิดใดๆว่าภาพที่ได้จะมาเป็นมาตรฐาน คุณ Sawchuk จำได้กล่าวว่า ทางกลุ่มได้แจกจ่ายรูปให้กับผู้่ที่มาเยี่ยมเยือนที่ขอไป เพื่อจุดประสงค์ที่จะได้ทำการเปรียบเทียบผลลัพธ์ ของ อัลกอริทึม ในการประมวลผลภาพได้ ซึ่งในที่สุดภาพนี้ก็ได้แพร่หลายเป็นที่นิยมใช้อย่างกว้างขวาง "
 
จนในภายหลังที่ได้รู้ถึงที่มาของภาพกันอย่างกว้างขวาง ก็เกิดเป็นกรณีโตแย้ง ว่าไม่เหมาะสมที่จะใช้ภาพนี้เนื่องจากที่มาของภาพ และ การที่เพลย์บอย ก็ได้มีความพยายามจะฟ้องร้องเรื่องสิทธิการใช้ภาพ
 
[http://www-2.cs.cmu.edu/~chuck/lennapg/editor.html A Note on Lena] โดย former editor-in-chief of the IEEE Transactions on Image Processing ใน