ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิจิเร็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bossanov (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: tr:Niçiren Budizmi; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 8:
 
== นิกายย่อย ==
ในปัจจุบัน ศาสนาพุทธนิกายนิชิเรนนั้น ไม่ใช่นิกายเดี่ยวๆโดยได้มีการแยกเป็นนิกายย่อยๆออกไป หลังจากการดับขันธ์ของ [[พระนิชิเรน]] โดยก่อนการดับขันธ์ พระนิชิเรน ได้แต่งตั้ง พระสงฆ์อาวุโส 6 คน เพื่อให้ทำหน้าที่เผยแผ่คำสอนต่อไปในอนาคต ประกอบด้วย [[พระนิชโช]] (日昭), [[พระนิชิโร]] (日朗), [[พระนิโค]] (日向), [[พระนิตโช]] (日頂), [[ พระนิชิจิ]] (日持), และ [[พระนิกโค]] (日興) แต่ว่า [[พระนิชิจิ]] ได้เดินทางไปยังต่างประเทศและไม่ได้รับข่าวของท่านอีกเลย และพระนิตโชในภายหลังได้มาเป็นศิษย์ของพระนิกโค
 
สาเหตุของการแตกแยกนิกายต่างๆนั้นมีหลายประการ อาทิเช่น การแตกแยก การตีความคำสอนที่ผิดเพี้ยนไปของบางนิกาย เป็นต้น พูดได้ว่า พระสงฆ์อาวสุโสมีความเข้าใจในคำสอนของพระนิชิเรนในรูปแบบที่แตกต่างกัน และพระสงฆ์อาวุโสทั้ง 6 รูปนั้นได้ปฏิบัติธรรมที่เบี่ยนเบนไปจากคำสอนของพระนิชิเรน ส่งผลให้ พระนิกโค ซึ่งเห็นความผิดพลาดนี้ได้เดินทางออกจาก วัดคุอนจิ ในปี [[ค.ศ. 1289]] โดยได้กล่าวว่า พระนิโค และพระสงฆ์คนอื่นๆ กำลังไปในทางที่นอกรีต และผิดจากที่พระนิชิเรนสอน ซึ่งทำให้พระนิกโคไม่อาจยอมรับได้
บรรทัด 34:
* นิชิเรน โคมน ชู
 
=== นิกายใหม่ๆ ===
* เรอิยูไค
* ริชโช โคเซอิ ไค
* นิปปอนซัน เมียวโฮจิ
* โคคูชูไคอิ
* โชชินไคอิ
* ฟูจิ ไทเซขิจิ เคนโชไค
* ฮนมนโชชู
=== ลัทธิฆราวาส ===
* [[โซกา งัคไค]] หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย]] - ถูกคว่ำบาตรแยกออกมาจาก[[นิชิเรนโชชู]]
บรรทัด 54:
 
== อ้างอิง ==
=== ภาษาอังกฤษ ===
* ''A Dictionary of Buddhist Terms and Concepts''. Nichiren Shoshu International Center, 1983 (Out of print)
* ''Selected Writings of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1990
* ''Letters of Nichiren''. Burton Watson et al., trans.; Philip B. Yampolsky, ed. Columbia University Press, 1996<br /><small>'''Full disclosure statement:''' Although Soka Gakkai retains the copyrights on the foregoing three <!--Not two: Nichiren Shoshu International Center has been subsumed by SGI since the 1992 split between Soka Gakkai and Nichiren Shoshu, and despite its name it was never directly affiliated with Nichiren Shoshu--> works and financed their publication, they show some deviation from similar works published under Soka Gakkai's own name.</small>
* ''The Cambridge Encyclopedia of Japan''. Paul Bowring and Peter Kornicki, eds. Cambridge University Press, 1993. ISBN 0-521-40352-9 (Referred to in text as ''Cambridge''.)
* ''Japan: An Illustrated Encyclopedia''. Kondansha, 1993, ISBN 4-06-205938-X; CD-ROM version, 1999. (Referred to in text as ''Illustrated''.)
* ''The Doctrines and Practice of Nichiren Shoshu''. Nichiren Shoshu Overseas Bureau, 2002<!--this is a valid reference; do not remove it-->
* ''The Soka Gakkai Dictionary of Buddhism''. Soka Gakkai, 2002, ISBN 4-412-01205-0
 
=== ภาษาญี่ปุ่น ===
* ''Nichiren Shōshū yōgi'' (日蓮正宗要義; "The essential tenets of Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 1978, rev. ed. 1999
* ''Shimpan Bukkyō Tetsugaku Daijiten'' (新版 仏教哲学大辞典: "Grand dictionary of Buddhist philosophy, rev. ed."). Seikyo Shimbunsha, 1985. No ISBN.
* ''Nichiren Shōshū-shi no kisoteki kenkyū'' (日蓮正宗史の基礎的研究; "A study of fundaments of Nichiren Shoshu history"). (Rev.) Yamaguchi Handō. Sankibo Bussho-rin, 1993. ISBN 4-7963-0763-X
* ''Iwanami Nihonshi Jiten'' (岩波 日本史辞典: "Iwanami dictionary of Japanese history"). Iwanami Shoten, 1999. ISBN 4-00-080093-0 (Referred to in text as ''Iwanami''.)
* ''Nichiren Shōshū Nyūmon'' (日蓮正宗入門; "Introduction to Nichiren Shoshu"). Taiseki-ji, 2002
* ''Kyōgaku Yōgo Kaisetsu Shū'' (教学解説用語集; "Glossary of Nichiren Shoshu Buddhist terms"). (Rev.) Kyōdō Enoki, comp. Watō Henshūshitsu, 2006.
 
 
บรรทัด 85:
* [http://www.hbsitalia.com Honmon Butsuryushu italian official web site]
* [http://www.honmon-butsuryushu.or.jp Honmon Butsuryushu japanese official web site]
{{โครงศาสนา}}
 
[[หมวดหมู่:นิกายในพุทธศาสนามหายาน]]
[[หมวดหมู่:ประเทศญี่ปุ่น]]
{{โครงศาสนา}}
 
[[cs:Ničirenova škola]]
[[de:Nichiren-Buddhismus]]
[[en:Nichiren Buddhism]]
[[fi:Nichiren-buddhalaisuus]]
[[fr:Bouddhisme de Nichiren]]
[[ko:니치렌슈]]
[[it:Buddhismo Nichiren]]
[[nl:Nichiren-boeddhisme]]
[[ja:日蓮宗]]
[[ko:니치렌슈]]
[[nl:Nichiren-boeddhisme]]
[[pt:Budismo de Nitiren]]
[[ru:Нитирэн (буддизм)]]
[[tr:Niçiren Budizmi]]
[[fi:Nichiren-buddhalaisuus]]
[[uk:Нітірен-сю]]
[[zh:日蓮宗]]