ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเปลี่ยนแปลงภาษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mt:Tibdil fil-Lingwa
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: li:Taolverandering; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 4:
'''การเปลี่ยนแปลงของภาษา''' ถือเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของ[[ภาษา]] ภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ จะมีแนวโน้มการใช้ที่ยืนยาวมากกว่าภาษาที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย หรือไม่เปลี่ยนแปลงเลย
 
== การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทย ==
ภาษาเปลี่ยนแปลงในลักษณะของ[[การออกเสียง]] [[คำศัพท์]] รูปแบบ และลักษณะอื่นอื่นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป ภาษาที่เปลี่ยนไปเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกลุ่มคนที่ใช้ภาษาไทย
 
บรรทัด 10:
 
กลุ่มเฉพาะเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนาของภาษา คำศัพท์ใหม่ใหม่เกิดขึ้นมากโดยเฉพาะกลุ่ม[[วัยรุ่น]] มีภาษาเฉพาะของกลุ่ม เมื่อภาษาเกิดมีการใช้กันใหม่ ทำให้มีคำศัพท์ใหม่นิยามขึ้นมา แต่อย่างไรก็ตามเมื่อหมดการใช้ของคำศัพท์นั้นนั้น ภาษานั้นก็จะตกรุ่นและหมดความนิยมไป ยกตัวอย่างเช่นคำว่า จ๊าบ ที่เคยมีการใช้กันในหมู่วัยรุ่น และเริ่มนิยมกันมากเมื่อสื่อนำไปใช้ในรายการโทรทัศน์ มีการถกเถียงเรื่องของภาษาวัยรุ่นที่ไม่นับว่าเป็นภาษาไทยกันมาก แต่อย่างไรก็ตามเมื่อทุกคนใช้ภาษาเดียวกันและมีการสื่อสารไปในทิศทางเดียวกัน ย่อมถือได้ว่า ภาษาที่เกิดขึ้นมาใหม่ไม่ว่าจากวัยรุ่นหรือ[[นักวิชาการ]] ยังคงเป็นภาษาไทย
{{โครงภาษา}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาไทย]]
{{โครงภาษา}}
 
[[de:Sprachwandel]]
บรรทัด 22:
[[hu:Nyelvi változás]]
[[it:Cambiamento linguistico]]
[[li:Taolverandering]]
[[mt:Tibdil fil-Lingwa]]
[[nl:Taalverandering]]