ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาร์ล-โอกุสแต็ง เดอ กูลง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Char (คุย | ส่วนร่วม)
ชาร์ต ออกุสติน เดอ คูลอมบ์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น ชาร์ล-โอกุสแตง เดอ กูลอง: ชื่อผิดการอ่านอ...
Char (คุย | ส่วนร่วม)
ใส่ประวัติ
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
{{Infobox scientist
|name = ชาร์ล-โอกุสแตง เดอ กูลอง
|image = Charles de coulomb.jpg
|image_width = 250px
|caption = ภาพวาดโดยอีปโปลีต เลอกงต์ (Hippolyte Lecomte) จิตรกรชาวฝรั่งเศส
|birth_date = {{birth date|1736|06|14|df=y}}
|birth_place = เมืองอองกูแลม ประเทศฝรั่งเศส
|death_date = {{death date and age|1806|08|23|1736|06|14|df=y}}
|death_place = [[ปารีส|กรุงปารีส]], [[ประเทศฝรั่งเศส]]
|nationality = ฝรั่งเศส
|field = ฟิสิกส์
|known_for = [[กฎของคูลอมบ์]]
|religion = [[โรมันคาทอลิก|คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก]]
}}
{{สั้นมาก}}
'''ชาร์ล-โอกุสแตง เดอ กูลอง''' (Charles-Augustin de Coulomb) ([[14 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2279]] - [[23 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2249]]) เป็นนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส รู้จักกันดีในฐานะผู้วางกฎว่าด้วยแรงระหว่างประจุ ซึ่งต่อมาชื่อของเขาได้ใช้เป็นหน่วยเอสไอสำหรับประจุไฟฟ้า คือ [[คูลอมบ์]] (C)
'''ชาร์ล ออกุสติน เดอ คูลอมบ์''' (Charles Augustin de Coulomb) นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส (เกิด พ.ศ. 2279)
 
== ประวัติ ==
กูลองเกิดที่เมืองอองกูแลม (Angoulême) ประเทศฝรั่งเศส ในครอบครัวที่มีฐานะดี มีบิดาชื่ออองรี กูลอง ซึ่งเป็นผู้ตรวจการสวนหลวงในมองต์เปลเลียร์ มารดาของเขาชื่อแคทเทอรีน บาเชต์ ซึ่งมาจากครอบครัวค้าขนสัตว์
ขณะที่กูลองยังเยาว์วัย ครอบครัวของกูลองได้ย้ายไปยังกรุงปารีส ต่อมากูลองได้เข้าเรียนในวิทยาลัยมาซาแรง (Mazarin College) อันมีชื่อเสียง เขาได้เรียนิชาคณิตศาสตร์กับปีแยร์ ชาร์ล มอนนิเยร์ (Pierre Charles Monnier) จนในที่สุดกูลองก็หลงใหลวิชาคณิตศาสตร์ ครั้นอายุได้ 21 ปี กูลองจึงกลับไปพักอาศัยกับบิดาและทำงานในวิทยาลัยในเมืองมองต์เปลเลียร์ สองปีให้หลังเขาจึงตัดสินใจกลับกรุงปารีส และสอบเข้าโรงเรียนทหารที่เมืองเมซิแยร์ (Mézières)
 
ครั้นปี พ.ศ. 2304 กูลองก็สำเร็จการศึกษาและได้เข้าร่วมภารกิจสร้างป้อมบูร์บอง (Fort Bourbon) ที่เมืองมาร์ตีนีก คราวที่เกิดสงครามเจ็ดปี เขาใช้ชีวิตที่นั่นแปดปีเพื่อควบคุมงานจนติดไข้ป่า ระหว่างนั้น เขาได้ทดลองว่าด้วย
ความทนทานของปูนก่อสร้างและโครงสร้างค้ำยัน ด้วยความอุตสาหะต่อมาเขาได้ยศเป็นนายพัน จากนั้นกูลองจึงเดินทางกลับกรุงปารีส แล้วทำงานที่เมืองลาโรเชล ริมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ณ ที่นั่นเขาได้ค้นพบกฎกำลังสอง
ผกผันของประจุ ทำนองเดียวกับกฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน
 
ต่อมา ครั้นกูลองอายุได้ 45 ปี เขาจึงกลับมายังกรุงปารีส และได้รับตำแหน่งเป็นแองแตงด็องต์ เดส์ โอส์ เอ ฟองแตนส์ (intendant des eaux et fontaines) หรือ "ผู้เชี่ยวชาญทางน้ำและน้่ำพุ" จากนั้นไม่นานเขาก็เกษียณตัวเองไปอาศัยในบ้านเล็ก ๆ ที่เมืองบลัวส์ (Blois) ต่อมาไม่นานรัฐบาลปฏิวัติก็เรียกตัวเขาไปร่วมประชุมบัญญัติหน่วยวัด ซึ่งในเวลาต่อมาได้เป็นรากฐานของระบบหน่วยระหว่างชาติ ไม่นานนักหลังจากนั้นเขาก็ถึงแก่กรรม
 
ผลงานของเขานอกเหนือจากกฎของคูลอมบ์แล้ว ยังมีผลงานการออกแบบผนังที่ป้อมบูร์บองซึ่งยังคงมาจนถึงปัจจุบัน
== กฎของคูลอมบ์ ==
คูลอมบ์ ได้ทำการทดลอง วัดแรงระหว่างประจุในปี ค.ศ. 1785 โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า เครื่องชั่งการบิด ( torsion balance ) แสดงเครื่องมือที่ Coulomb ใช้วัดแรงไฟฟ้าระหว่างประจุทั้งสองทำให้
 
เส้น 10 ⟶ 37:
R คือ ระยะทางระหว่างประจุไฟฟ้า หน่วย เมตร (m)
 
''บทความนี้ มีข้อความบางส่วนที่แปลมาจาสารานุกรมเอนไซโคลพีเดียบริตตานิกา (Encyclopædia Britannica) ฉบับพิมพ์รุ่นที่ 11 ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติแล้ว''
[[หมวดหมู่:นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส]]