ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาฮินดี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: pnb:ہندی
บรรทัด 36:
ภาษาฮินดีในรูปที่ได้รับการจัดมาตรฐานในปัจจุบันนอกจากใช้ในงานวรรณกรรมแล้ว ยังใช้ในด้านการศึกษา วิทยาการ เทคโนโลยีและการปกครอง ภาษาฮินดีในรูปดังกล่าวจึงมีการออกเสียง การเขียนและโครงสร้างไวยากรณ์ที่เป็นแบบอย่างมาตรฐาน และในกรอบของรูปมาตรฐานนี้จึงมีความแตกต่างจากภาษาท้องถิ่นที่ใช้พูดกันในประเทศ
 
ในวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2492 ภาษาฮินดีได้รับการยอมรับเป็นภาษาประจำชาติ ตาม[[รัฐธรรมนูญ]]แห่ง[[สาธารณรัฐอินเดีย]]ส่วนที่ 17 หมวดที่ 1 มาตรา 343 บัญญัติให้ภาษาฮินดีเป็นภาษาประจำชาติและใช้[[อักษรเทวนาครี]] ในปัจจุบันภาษาฮินดีเป็นภาษาราชการของ[[รัฐอุตตรประเทศ]] [[รัฐพิหาร|พิหาร]] [[รัฐมัธยประเทศ|มัธยประเทศ]] [[รัฐราชสถาน|ราชสถาน]] [[รัฐหรยาณา|หรยาณา]] [[รัฐหิมาจัลประเทศ|หิมาจัลประเทศ]]และ[[กรุงเดลี]] สำหรับในรัฐ[[รัฐปัญจาบ|ปัญจาบ]] [[รัฐคุชราต|คุชราต]] [[รัฐมหาราษฏระ|มหาราษฏระ]] และ[[หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์]]ให้ภาษาฮินดีอยู่ในสถานะภาษาที่สอง
 
== สำเนียงและการแพร่กระจายของภาษาฮินดี ==