ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรฮันกึล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: pl:Hangul
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Hunmin_jeong-eum.jpg|thumb|300px|right|ภาพส่วนหนึ่งของเอกสาร "ฮูมิน จองอึม"]]
 
'''ฮันกึล''' ([[ภาษาเกาหลี]]: 한글 (ฮันกึล) Hangeul หรือ Hangul) เป็นชื่อเรียกตัวอักษรของเกาหลีที่ได้ประดิษฐ์ขึ้นใช้แทนตัว[[อักษรฮันจา]] ฮันจานั้นหมายถึงตัว[[อักษรจีน]]ที่ใช้ใน[[ภาษาเกาหลี]]ก่อนที่จะมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้แทนโดย[[พระเจ้าเซจงมหาราช]](세종대왕)
 
== ประวัติ ==
=== กำเนิดการเขียนใน[[เกาหลี]] ===
การเขียน[[ภาษาจีน]]แพร่หลายเข้าสู่[เกาหลี]]ตั้งแต่เมื่อ 2,000 ปีมาแล้ว มีการใช้อย่างกว้างขวางเมื่อ[[จีนเข้าเ]]ข้าปกครอง[[เกาหลี]]ในช่วง พ.ศ. 435 – 856 เมื่อประมาณ [[พ.ศ. 1000]] เริ่มเขียนภาษาเกาหลีด้วยอักษรจีนโบราณ เริ่มพบเมื่อราว [[พ.ศ. 947]] โดยมีระบบการเขียน 3 ระบบ คือ Hyangchal Gukyeol และ Idu ระบบเหล่านี้ใกล้เคียงกับระบบที่ใช้เขียน[[ภาษาญี่ปุ่น]] และอาจจะเป็นแม่แบบให้ภาษาญี่ปุ่นด้วย
ระบบ Idu ใช้การผสมกันระหว่างอักษรจีนกับสัญลักษณ์พิเศษเพื่อแสดงการลงท้ายคำกริยาในภาษาเกาหลี และใช้ในเอกสารทางราชการและบันทึกส่วนตัวเป็นเวลาหลายศตวรรษ ระบบ Hyangchal ใช้อักษรจีนแสดงเสียงของภาษาเกาหลี ใช้ในการเขียนบทกวีเป็นหลัก ภาษาเกาหลียืมคำจากภาษาจีนเป็นจำนวนมาก ทำให้ภาษาเกาหลีสามารถอ่านหรือสื่อความหมายได้ด้วยอักษรจีน มีการประดิษฐ์สัญลักษณ์ขึ้นใหม่ราว 150 ตัว ส่วนใหญ่มีที่ใช้น้อยหรือเป็นชื่อเฉพาะ
=== การประดิษฐ์อักษรใหม่ ===
'''อักษรฮันกึล''' ได้ประดิษฐ์โดย[[พระเจ้าเซจง]] ([[พ.ศ. 1940]] - [[พ.ศ. 1993|1993]] ครองราชย์ [[พ.ศ. 1961]] - [[พ.ศ. 1993|1993]]) กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง[[ราชวงศ์โชซอน]]ของ[[เกาหลี]] แต่นักวิชาการบางคนตั้งข้อสังเกตว่าการประดิษฐ์อักษรเป็นงานที่ซับซ้อน อาจเป็นฝีมือของกลุ่มบัณฑิตสมัยนั้นมากกว่า แต่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้แสดงว่าบัณฑิตในสมัยนั้นต่างคัดค้านการใช้ตัวอักษรใหม่แทนตัว[[อักษรฮันจา]] ดังนั้น จึงได้มีการบันทึกว่าอักษรฮันกึลเป็นผลงานของ[[พระเจ้าเซจง]]แต่เพียงพระองค์เดียว นอกจากนี้ ยังมีหลักฐานบางอย่างที่แสดงว่าพระญาติของพระเจ้าเซจองได้มีส่วนร่วมอย่างลับๆ ในการประดิษฐ์อักษร เพราะประเด็นนี้ในสมัยนั้นเป็นข้อขัดแย้งระหว่างบัณฑิตอย่างมาก
 
อักษรฮันกึลได้ประดิษฐ์เสร็จสมบูรณ์ในปี [[พ.ศ. 1986]] (ค.ศ. 1443) หรือ [[มกราคม]] [[ค.ศ. 1444]] และถูกตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ [[9 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 1989]] (ค.ศ. 1446) ในเอกสารที่ชื่อว่า "ฮุนมิน จองอึม" (ฮันกึล: 훈민 정음, [[อักษรฮันจา|ฮันจา]]: 訓民正音 Hunmin Jeong-eum) หรือแปลว่า เสียงอักษรที่ถูกต้องเพื่อการศึกษาสำหรับประชาชน ซึ่งในวันที่ [[9 ตุลาคม]] ของทุกปี ทางการ[[ประเทศเกาหลีใต้|เกาหลีใต้]]ได้ประกาศให้เป็น วันฮันกึล ซึ่งเป็นวันหยุดราชการ ส่วนใน[[เกาหลีเหนือ]]เป็นวันที่ [[15 มกราคม]]