ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แหลมกู๊ดโฮป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chale yan (คุย | ส่วนร่วม)
โดนก่อกวน
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=280px}}
[[ไฟล์:Cape of Good Hope (Zaian 2008).JPG|thumb|280px |“แหลมกูดโฮป”โฮพ” มองไปทางตะวันตก]]
'''แหลมกูดโฮปโฮพ''' ({{lang-en|Cape of Good Hope}}, {{lang-af|Kaap die Goeie Hoop}}, {{lang-nl|Kaap de Goede Hoop}}) คือแหลมที่ยื่นออกไปทางด้าน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ไม่ไกลจาก[[เคปทาวน์]]ของ[[ประเทศแอฟริกาใต้]] โดยทั่วไปมักจะเข้าใจผิดกันว่าแหลมกูดโฮพตั้งอยู่ตอนปลายสุดของ[[ทวีปแอฟริกา]]และเป็นจุดที่แบ่งระหว่าง[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรอินเดีย]] แต่ตามความเป็นจริงแล้วแหลมที่อยู่ปลายสุดของทวีปแอฟริกาคือ[[แหลมอกัลลัส]] (Cape Agulhas (ออกเสียง: ə-gŭl'əs)) ประมาณ 150 กิโลเมตรไปทางตะวันออกเฉียงใต้ แต่ความสำคัญของแหลมกูดโฮพเป็นความสำคัญทางจิตวิทยา เพราะถ้าเดินทางตามแนวฝั่งจากอีเควเตอร์แล้วแหลมกูดโฮพก็จะเป็นจุดที่เป็นการเริ่มหันการเดินทางไปทางตะวันออกมากกว่าที่จะเดินทางต่อไปทางใต้ ฉะนั้นการเดินทางรอบแหลมกูดโฮพในปี ค.ศ. 1488 จึงเป็นจุดหมายสำคัญในการพยายามโดย [[จักรวรรดิโปรตุเกส|ชาวจักรวรรดิ]]ในการพบเส้นทางการค้าจากยุุโรปโดยตรงไปยัง[[ตะวันออกไกล]]
 
 
'''ย่าหู้ ! > '' <'''
 
 
 
'''แหลมกูดโฮป''' ({{lang-en|Cape of Good Hope}}, {{lang-af|Kaap die Goeie Hoop}}, {{lang-nl|Kaap de Goede Hoop}}) คือแหลมที่ยื่นออกไปทางด้าน[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]ไม่ไกลจาก[[เคปทาวน์]]ของ[[ประเทศแอฟริกาใต้]] โดยทั่วไปมักจะเข้าใจผิดกันว่าแหลมกูดโฮพตั้งอยู่ตอนปลายสุดของ[[ทวีปแอฟริกา]]และเป็นจุดที่แบ่งระหว่าง[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรอินเดีย]] แต่ตามความเป็นจริงแล้วแหลมที่อยู่ปลายสุดของทวีปแอฟริกาคือ[[แหลมอกัลลัส]] (Cape Agulhas (ออกเสียง: ə-gŭl'əs)) ประมาณ 150 กิโลเมตรไปทางตะวันออกเฉียงใต้ แต่ความสำคัญของแหลมกูดโฮพเป็นความสำคัญทางจิตวิทยา เพราะถ้าเดินทางตามแนวฝั่งจากอีเควเตอร์แล้วแหลมกูดโฮพก็จะเป็นจุดที่เป็นการเริ่มหันการเดินทางไปทางตะวันออกมากกว่าที่จะเดินทางต่อไปทางใต้ ฉะนั้นการเดินทางรอบแหลมกูดโฮพในปี ค.ศ. 1488 จึงเป็นจุดหมายสำคัญในการพยายามโดย [[จักรวรรดิโปรตุเกส|ชาวจักรวรรดิ]]ในการพบเส้นทางการค้าจากยุุโรปโดยตรงไปยัง[[ตะวันออกไกล]]
 
เพราะความที่เป็นแหลมที่สำคัญที่สุดแหลมหนึ่งในมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้แหลมกูดโฮพจึงมีความสำคัญเป็นพิเศษสำหรับกลาสีมาเป็นเวลานาน จนได้รับสมญาที่เรียกกันโดยทั่วไปง่ายๆ ว่า “the Cape”<ref>''Along the Clipper Way'', Francis Chichester; page 78. Hodder & Stoughton, 1966. ISBN 0-340-00191-7</ref> และเป็นจุดหมายสำคัญ[[เส้นทางคลิพเพอร์]] (clipper route) ตามเส้นทางของ[[เรือคลิพเพอร์]]ไปยัง[[ตะวันออกไกล]]และ[[ออสเตรเลีย]]และยังใช้ในการเป็นเส้นทางของ[[การแข่งขันเรือยอท]]หลายประเภท