ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในอดีต มีภูเขาอยู่ลูกหนึ่ง ตั้งอยู่หน้าสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง ชาวบ้านในระแวกนั้นเรียกภูเขาลูกนั้นว่า เขาดีปลี ได้ฟังต่อ ๆ กันมาว่า ถ้าหากผู้ใดขึ้นไปบนภูเขาลูกนี้แล้ว บางคนจะพบเห็นต้นและดอกดีปลีขนาดใหญ่ผิดปกติมากและถ้าใครเก็บดอกดีปลีเพื่อจะนำกลับไปบ้าน ก็จะเกิดอาถรรพ์ เดินหลงทางกลับลงจากภูเขาไม่ได้ ต้องเดินวกไปวนมาอยู่บนภูเขานั้น แต่เมื่อนำดอกดีปลีนั้นตั้งไว้ที่ต้นแล้ว ก็จะพบทางลงจากภูเขากลับลงได้ ชาวบ้านจึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า เขาดีปลี
'''พระแก้ว''' หรือ '''พระรัตนะ''' อาจหมายถึง
คำว่า “ ดีปลี ” หมายถึง พืชชนิดหนึ่งซึ่งชาวบ้านปักษ์ใต้เรียกว่า ดีปลี มีรสเผ็ดร้อน อยู่ในสกุลเดียวกันกับพริกนั้นเอง มีประโยชน์สำหรับใช้ประกอบเป็นเครื่องปรุงอาหาร เช่น แกงเผ็ด หรือตำน้ำพริก ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ตรวจการคณะสงฆ์ อ.ทุ่งสง ในครั้งนั้น ท่านพระอุดมศีลาจารย์ (ช่วย) วัดโคกหม้อ หรือวัดชัยชุมพล เป็นเจ้าคณะอำเภอทุ่งสง ได้นิมนต์เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรวจดูสถานที่เชิงเขาดีปลีแห่งนี้ เห็นว่าเป็นสถานที่สมควรจัดให้เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ จึงได้ชวนชาวบ้านที่อยู่ใกล้เขาดีปลีมาประชุมกัน ที่ประชุมตกลงให้สร้างวัดขึ้น ณ ที่นี้ และให้เรียกภูเขาลูกนี้ว่า ภูเขาปรีดี ที่ตั้งวัดก็ให้เรียกว่า วัดเขาปรีดี ชาวบ้านต่างก็มีความสบายใจที่ได้สร้างวัดขึ้น และมีความพอใจกับชื่อของวัดและภูเขาปรีดีดังกล่าว เจ้าคณะอำเภอทุ่งสงในสมัยนั้นได้มอบหมายให้พระครูอินโทปมคุณ เจ้าอาวาสวัดเขากลาย ได้ช่วยพัฒนาวัดเขาปรีดี แห่งนี้โดยส่งพระสงฆ์มาอยู่เป็นผู้นำ ตามทราบชื่อพระสงฆ์นั้น ดังนี้
 
๑. พระจัน
* [[ตำบลพระแก้ว]] - อำเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
๒. พระหนู
* [[สถานีรถไฟพระแก้ว]] - ตำบลกระจิว อำเภอภาชี
* [[ ๓. พระรัตนตรัย]]คล้าย
๔. พระทอง
* ศาสนวัตถุ
๕. พระดำ
** [[พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร]] (พระแก้วมรกต-พระแก้วประจำรัชกาลที่ 1) - พระอุโบสถ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
อยู่ต่อมาสมัยพระครูอุดมศีลาจารย์ (เย็น)วัดโคกสะท้อน เป็นเจ้าคณะอำเภอทุ่งสง ท่านได้ส่งพระมหาบุญมี (พระครูจันทวุฒิคุณ) พระประภาส พระเทียบ เป็นเจ้าอาวาส รูปต่อมา
** [[พระพุทธมณีรัตนปฏิมากร]] (พระแก้วมรกตน้อย) (พระแก้วประจำรัชกาลที่ 6) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
แต่สภาพของวัดก็ยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระเทียบได้ลาจากเจ้าอาวาส กลับไปอยู่ที่อำเภอฉวาง ซึ่งเป็นวัดเดิมของท่าน จึงเป็นเหตุให้วัดเขาปรีดีว่างจากเจ้าอาวาส สภาพวัดก็ขาดการพัฒนา กลายเป็นที่กลบอยู่ของพวกมิจฉาชีพ คณะรถไฟทุ่งสง คณะเทศบาลตำบลปากแพรก และคณะผู้มีจิตศรัทธาหลายท่าน ไปอาราธนาพระสงฆ์จากวัดชายนา ซึ่งเป็นสำนักกัมมัฏฐาน อยู่ที่ อ.เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีพระครูภาวนานุศาสก์ ( หลวงพ่อแป้น ธมฺมธโร ) เป็นพระอาจารย์ใหญ่ ) ฝ่ายกัมมัฏฐาน ท่านได้ส่งพระสงฆ์ จำนวน ๗ รูป สามเณร ๑ รูป ให้มาอยู่ที่วัดเขาปรีดี เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๒๒
** [[พระพุทธบุษยรัตนจักรพรรดิพิมลมณีมัย]] (พระแก้วขาว-พระแก้วประจำรัชกาลที่ 2) - [[พระที่นั่งอัมพรสถาน]] [[พระราชวังดุสิต]]
นำโดยพระครูจารุวรรณโสภิต สมัยนั้นยังมีชื่อเดิมอยู่ว่า พระชะอ้อน จารุวณฺโณ เมื่อท่านมาอยู่ก็ได้เริ่มพัฒนา โดยถือหลักว่า พัฒนาคน พัฒนาตน พัฒนาวัด และได้กระทำอย่างนี้มาโดยตลอด ด้านการพัฒนาคน ได้เริ่มโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ถึงปัจจุบัน ก็ยังต่อเนื่องกันอยู่มีนักเรียนสมัครบรรพชาแต่ละปีเป็นจำนวนมาก
** [[พระนาคสวาดิเรือนแก้ว]] (พระแก้วประจำรัชกาลที่ 3) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
ด้านสงเคราะห์ ได้ตั้งกองทุนมูลนิธิประชาปรีดี ขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ และรับการจดทะเบียนเมื่อปี ๒๕๒๘ ปัจจุบันได้มีทุนอยู่พอประมาณเพื่อที่จะนำดอกผลแต่ละปีมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
** [[พระแก้วเชียงแสน]] (พระแก้วประจำรัชกาลที่ 4) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
ด้านการพัฒนาภายในวัด ได้ขยายเขตวัด จากเดิมมีอยู่ ๖ ไร่เศษ ปัจจุบันขยายออกไปเป็น ๑๕ ไร่เศษ ในอนาคตจะพยายามขยายให้ได้รอบภูเขา เพื่ออนุรักษ์ธรรมชาติไว้ ด้านก่อสร้างศาสนวัตถุ ได้ก่อสร้างกำแพง บูรณะศาลาเก่า หอฉัน สร้างกุฏิสงฆ์ สร้างศาลาเอนกประสงค์ สุขา ซุ้มประตู อุโบสถ และในปัจจุบันได้ก่อตั้งสถานีวิทยุเพื่อส่งเสริมพระพุทธศาสนา เพื่อเผยแผ่พระธรรมด้วย
** [[พระพุทธบุษยรัตน์น้อย]] (พระแก้วขาวน้อย-พระแก้วประจำรัชกาลที่ 5) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับบริจาคที่ดินจากนายม้วน – นางสมจิต จรจรัส บ้านคลองโอม อ.นาบอน จ.นครศรีธรรมราช จำนวน ๒๑ ไร่ และขยายออกเป็น ๕๐ ไร่ในปัจจุบัน เพื่อเป็นธรณีสงฆ์ของวัดเขาปรีดี และได้พัฒนาขึ้นตลอดมา เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรมแก่ผู้ต้องการความสงบ
** [[พระพุทธเพชรญาณ]] (พระแก้วประจำรัชกาลที่ 6) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
ในอดีต มีภูเขาอยู่ลูกหนึ่ง ตั้งอยู่หน้าสถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง ชาวบ้านในระแวกนั้นเรียกภูเขาลูกนั้นว่า เขาดีปลี ได้ฟังต่อ ๆ กันมาว่า ถ้าหากผู้ใดขึ้นไปบนภูเขาลูกนี้แล้ว บางคนจะพบเห็นต้นและดอกดีปลีขนาดใหญ่ผิดปกติมากและถ้าใครเก็บดอกดีปลีเพื่อจะนำกลับไปบ้าน ก็จะเกิดอาถรรพ์ เดินหลงทางกลับลงจากภูเขาไม่ได้ ต้องเดินวกไปวนมาอยู่บนภูเขานั้น แต่เมื่อนำดอกดีปลีนั้นตั้งไว้ที่ต้นแล้ว ก็จะพบทางลงจากภูเขากลับลงได้ ชาวบ้านจึงเรียกภูเขาลูกนี้ว่า เขาดีปลี
** [[พระแก้วนิลกัณฐพรพายัพ]] (พระแก้วประจำรัชกาลที่ 7)
คำว่า “ ดีปลี ” หมายถึง พืชชนิดหนึ่งซึ่งชาวบ้านปักษ์ใต้เรียกว่า ดีปลี มีรสเผ็ดร้อน อยู่ในสกุลเดียวกันกับพริกนั้นเอง มีประโยชน์สำหรับใช้ประกอบเป็นเครื่องปรุงอาหาร เช่น แกงเผ็ด หรือตำน้ำพริก ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๗๐ เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ตรวจการคณะสงฆ์ อ.ทุ่งสง ในครั้งนั้น ท่านพระอุดมศีลาจารย์ (ช่วย) วัดโคกหม้อ หรือวัดชัยชุมพล เป็นเจ้าคณะอำเภอทุ่งสง ได้นิมนต์เจ้าคณะจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรวจดูสถานที่เชิงเขาดีปลีแห่งนี้ เห็นว่าเป็นสถานที่สมควรจัดให้เป็นที่อยู่ของพระสงฆ์ จึงได้ชวนชาวบ้านที่อยู่ใกล้เขาดีปลีมาประชุมกัน ที่ประชุมตกลงให้สร้างวัดขึ้น ณ ที่นี้ และให้เรียกภูเขาลูกนี้ว่า ภูเขาปรีดี ที่ตั้งวัดก็ให้เรียกว่า วัดเขาปรีดี ชาวบ้านต่างก็มีความสบายใจที่ได้สร้างวัดขึ้น และมีความพอใจกับชื่อของวัดและภูเขาปรีดีดังกล่าว เจ้าคณะอำเภอทุ่งสงในสมัยนั้นได้มอบหมายให้พระครูอินโทปมคุณ เจ้าอาวาสวัดเขากลาย ได้ช่วยพัฒนาวัดเขาปรีดี แห่งนี้โดยส่งพระสงฆ์มาอยู่เป็นผู้นำ ตามทราบชื่อพระสงฆ์นั้น ดังนี้
** [[พระพุทธปฏิมาแก้วผลึก]] (พระแก้วที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ทูลเกล้าฯ ถวาย[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ในโอกาสที่ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี)
๑. พระจัน
** [[พระเสกรวงข้าว]] (พระแก้วผลึกสีแดงสำหรับการพระราชพิธีพืชมงคล) - [[หอพระสุราลัยพิมาน]] [[พระบรมมหาราชวัง]]
๒. พระหนู
** [[พระพุทธรตนากรนวุติวัสสานุสรณ์มงคล]] (พระหยกเชียงราย) - หอพระหยก [[วัดพระแก้วงามเมือง]]
๓. พระคล้าย
** [[พระพุทธเฉลิมสิริราช]] (พระแก้วหยกเชียงใหม่) - ซุ้มจระนำทิศตะวันออก เจดีย์หลวง [[วัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่]]
๔. พระทอง
** [[พระแก้วดอนเต้า]] (พระแก้วหมากเต้า) - วิหารพระแก้ว [[วัดพระธาตุลำปางหลวง]]
๕. พระดำ
** [[พระแก้วเต็มรัก]] (พระแก้วมรกตจำลอง) - วัดเต็มรักสามัคคี [[จังหวัดนนทบุรี]]
อยู่ต่อมาสมัยพระครูอุดมศีลาจารย์ (เย็น)วัดโคกสะท้อน เป็นเจ้าคณะอำเภอทุ่งสง ท่านได้ส่งพระมหาบุญมี (พระครูจันทวุฒิคุณ) พระประภาส พระเทียบ เป็นเจ้าอาวาส รูปต่อมา
** พระแก้วบุษราคำ เป็นพระพุทธรูปโบราณ ปางมารวิชัย สร้างด้วยแก้วสีน้ำผึ้ง - เหลือง หน้าตักกว้าง ๓ นิ้ว สูง ๔ นิ้ว ตามตำนานกล่าวว่า เป็นสมบัติของเจ้าปางคำ เจ้าเมืองนครเขื่อนขัณท์กาบแก้วบัวบาน (หนองบัวลำพู) แล้วตกทอดมาถึงสมัยพระวอ พระตา และเจ้าคำผงตามลำดับ เมื่อเจ้าคำผง (พระปทุมวรราชสุริยวงศ์) สร้างวัดหลวงขึ้นเป็นวัดแรกนั้นก็ได้สร้างหอพระแก้ว และวัดศรีทอง (วัดศรีอุบลรัตนาราม) จังหวัดอุบลราชธานี แล้วได้อัญเชิญพระแก้วบุษราคำมาประดิษฐานไว้ที่หอพระแก้วจนถึงปัจจุบัน พระแก้วบุษราคำมีอายุอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓
แต่สภาพของวัดก็ยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าที่ควร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ พระเทียบได้ลาจากเจ้าอาวาส กลับไปอยู่ที่อำเภอฉวาง ซึ่งเป็นวัดเดิมของท่าน จึงเป็นเหตุให้วัดเขาปรีดีว่างจากเจ้าอาวาส สภาพวัดก็ขาดการพัฒนา กลายเป็นที่กลบอยู่ของพวกมิจฉาชีพ คณะรถไฟทุ่งสง คณะเทศบาลตำบลปากแพรก และคณะผู้มีจิตศรัทธาหลายท่าน ไปอาราธนาพระสงฆ์จากวัดชายนา ซึ่งเป็นสำนักกัมมัฏฐาน อยู่ที่ อ.เมืองนครศรีธรรมราช ซึ่งมีพระครูภาวนานุศาสก์ ( หลวงพ่อแป้น ธมฺมธโร ) เป็นพระอาจารย์ใหญ่ ) ฝ่ายกัมมัฏฐาน ท่านได้ส่งพระสงฆ์ จำนวน ๗ รูป สามเณร ๑ รูป ให้มาอยู่ที่วัดเขาปรีดี เมื่อวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๒๒
* ศาสนสถาน
นำโดยพระครูจารุวรรณโสภิต สมัยนั้นยังมีชื่อเดิมอยู่ว่า พระชะอ้อน จารุวณฺโณ เมื่อท่านมาอยู่ก็ได้เริ่มพัฒนา โดยถือหลักว่า พัฒนาคน พัฒนาตน พัฒนาวัด และได้กระทำอย่างนี้มาโดยตลอด ด้านการพัฒนาคน ได้เริ่มโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ถึงปัจจุบัน ก็ยังต่อเนื่องกันอยู่มีนักเรียนสมัครบรรพชาแต่ละปีเป็นจำนวนมาก
** [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] (วัดพระแก้ว กรุงเทพมหานคร) - เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
ด้านสงเคราะห์ ได้ตั้งกองทุนมูลนิธิประชาปรีดี ขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ และรับการจดทะเบียนเมื่อปี ๒๕๒๘ ปัจจุบันได้มีทุนอยู่พอประมาณเพื่อที่จะนำดอกผลแต่ละปีมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
** [[วัดบวรสถานสุทธาวาส]] (วัดพระแก้ววังหน้า) - วิทยาลัยนาฏศิลป์ กรุงเทพมหานคร
ด้านการพัฒนาภายในวัด ได้ขยายเขตวัด จากเดิมมีอยู่ ๖ ไร่เศษ ปัจจุบันขยายออกไปเป็น ๑๕ ไร่เศษ ในอนาคตจะพยายามขยายให้ได้รอบภูเขา เพื่ออนุรักษ์ธรรมชาติไว้ ด้านก่อสร้างศาสนวัตถุ ได้ก่อสร้างกำแพง บูรณะศาลาเก่า หอฉัน สร้างกุฏิสงฆ์ สร้างศาลาเอนกประสงค์ สุขา ซุ้มประตู อุโบสถ และในปัจจุบันได้ก่อตั้งสถานีวิทยุเพื่อส่งเสริมพระพุทธศาสนา เพื่อเผยแผ่พระธรรมด้วย
** [[พระพุทธรัตนสถาน]] (วัดพระแก้วฝ่ายใน) - พระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ได้รับบริจาคที่ดินจากนายม้วน – นางสมจิต จรจรัส บ้านคลองโอม อ.นาบอน จ.นครศรีธรรมราช จำนวน ๒๑ ไร่ และขยายออกเป็น ๕๐ ไร่ในปัจจุบัน เพื่อเป็นธรณีสงฆ์ของวัดเขาปรีดี และได้พัฒนาขึ้นตลอดมา เพื่อเป็นที่ปฏิบัติธรรมแก่ผู้ต้องการความสงบ
** [[วัดพระแก้วงามเมือง]] (วัดพระแก้ว เชียงราย) - {{อเมือง|เชียงราย}}
** [[วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม]] (วัดพระแก้ว ลำปาง) - {{อเมือง|ลำปาง}}
** [[วัดเจดีย์หลวง เชียงใหม่]] (วัดพระแก้ว เชียงใหม่) - เวียงเชียงใหม่
** [[วัดพระแก้ว ภาชี]] - [[อำเภอภาชี]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]]
** [[วัดพระแก้ว กำแพงเพชร]] - [[อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร]] {{อเมือง|กำแพงเพชร}}
** [[วัดพระแก้ว จังหวัดชัยนาท]]
** [[วัดพระแก้ว จังหวัดเพชรบูรณ์]]
** [[หอพระแก้ว]] - [[นครหลวงเวียงจันทน์]] [[สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว]]
 
{{แก้กำกวม}}