ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สวนศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ht:Akoustik
ส่วนใหญ่เป็นการแกัไขศัพท์บัญญัติ
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
 
:''สำหรับ อคูสติกอะคูสติก ที่โยงมาที่บทความนี้ ดูความหมายอื่นที่ [[อคูสติกอะคูสติก (แก้ความกำกวม)]]''
'''สวนศาสตร์''' (อ่านว่า สะ-วะ-นะ-สาด) หรือ '''อคูสติกส์อะคูสติกส์''' ([[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: acoustics) เป็นสาขาหนึ่งของ[[ฟิสิกส์]] ว่าด้วยคุณสมบัติ[[คลื่น]][[เสียง]]เชิงกล เมื่อเคลื่อนที่ใน[[ก๊าสแกส]] [[ของเหลว]] และ[[ของแข็ง]] [[นักวิทยาศาสตร์]]ผู้ศึกษาในสาขานี้ เรียกว่า นักอะคูสติกส์สวนศาสตร์ (Acoustician)
 
การประยุกต์ใช้อะคูสติกส์สวนศาสตร์ในทางเทคโนโลยี เรียกว่า [[วิศวกรรมอะคูสติกส์สวนศาสตร์]](acoustical engineering) และมักจะมีความคาบเกี่ยวกันระหว่างงานของวิศวกรอะคูสติกส์สวนศาสตร์ (acoustical engineer) และนักอะคูสติกส์สวนศาสตร์
 
คำว่า อะคูสติกนั้น มาจาก[[ภาษากรีก]]โบราณ ว่า “อะคูสติกคอส” หมายถึง “สามารถได้ยิน” ในปัจจุบัน อะคูสติกส์ เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง ควบคุม ส่ง รับ และผลกระทบของเสียง โดยเริ่มต้นด้วยการศึกษาการสั่นเชิงกล และการแผ่คลื่นจากการสั่นเหล่านี้ จนถึงการศึกษาคลื่นเชิงกล โดยยังมีการศึกษาค้นคว้าเรื่อยมา งานวิจัยด้านอะคูสติกส์สวนศาสตร์ดำเนินไปหลายลักษณะ จากกระบวนการเชิงฟิสิกส์มูลฐาน ที่เกี่ยวข้องกับคลื่นและเสียง และอาจโยงไปถึงการประยุกต์ใช้กระบวนการเหล่านี้ในชีวิตสมัยใหม่ การศึกษาคลื่นเสียงยังนำไปสู่หลักการทางฟิสิกส์ที่อาจประยุกตใช้กับการศึกษาคลื่นทุกชนิดด้วย
 
== สาขาย่อยของสวนศาสตร์ ==
บรรทัด 12:
* [[อากาศสวนศาสตร์]] ([[:en:aeroacoustics]]) เป็นการศึกษาทางด้าน[[เสียง]]เชิง[[อากาศพลศาสตร์]] ซึ่งเกี่ยวกับการกำเนิดของเสียง จากปฏิกิริยาของของไหลกับพื้นผิว หรือ กับของไหลอื่น มีประโยชน์ทางด้านการออกแบบอากาศยาน เช่น การศึกษาเสียงที่กำเนิดจากเครื่องบินไอพ่น และ ฟิสิกส์ของ[[คลื่นกระแทก]] (shock wave) ที่เรียกว่า [[โซนิกบูม]]([[:en:sonic boom]])
 
* [[สวนศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมสถาปัตยสวนศาสตร์]] ([[:en:architectural acoustics]]) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับผลของสิ่งก่อสร้าง ต่อพฤติกรรมของเสียง เช่น พฤติกรรมของเสียง ในหอประชุม โรงละคร แม้แต่ในอาคารสำนักงาน โรงงาน และ บ้านพักอาศัย
 
* [[ชีวสวนศาสตร์]] ([[:en:bioacoustics]]) ศึกษาถึงการใช้เสียงของสิ่งมีชีวิตต่างๆ เช่น [[ปลาวาฬ]] [[ปลาโลมา]] และ [[ค้างคาว]]
 
* [[สวนศาสตร์ทางชีวแพทย์วเวชศาสตรสวนศาสตร์]] ([[:en:biomedical acoustics]]) เป็นการศึกษาการใช้เสียงในทางการแพทย์ เช่น การใช้[[คลื่นเหนือเสียงความถี่สูง]] (ultrasound) ในการวินิจฉัยและบำบัดโรค
 
* [[สวนศาสตร์ของเครื่องกระจายเสียงลำโพง]] ([[:en:loudspeaker acoustics]]) เป็นสาขาทางวิศวกรรม ในการออกแบบ[[เครื่องกระจายเสียงลำโพง]] (loudspeaker) หรือ ลำโพงนั่นเอง
 
* [[จิตสวนศาสตร์]] ([[:en:psychoacoustics]]) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับประสาทสัมผัสการได้ยินของมนุษย์ เช่น [[การได้ยิน]]เสียง ([[:en:hearing (sense)|hearing]]) [[การรับรู้]] และ [[การรับรู้ตำแหน่งของเสียง]] ([[:en:sound localization]])
บรรทัด 24:
* [[สวนศาสตร์เชิงจิตวิทยา]] ([[:en:psychological acoustics]]) เป็นการศึกษาการทำงาน ทางกล ทางไฟฟ้า และ ทางชีวเคมี ของ[[การได้ยิน]] ในสิ่งมีชีวิต
 
* [[สวนศาสตร์กายภาพศาสตรเชิงฟิสิกส์]] ([[:en:physical acoustics]]) ศึกษาเกี่ยวกับปฏิกิริยาของเสียง ต่อ วัสดุ และ ของไหลต่างๆ เช่น ปรากฏการณ์ [[โซโนลูมิเนสเซนส์]] ([[:en:sonoluminescence]]) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์การเปล่งแสงของฟองอากาศในของเหลวที่ถูกกระตุ้นด้วยเสียง และ [[อุณหสวนศาสตร์]] ([[:en:thermoacoustics]]) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาระหว่างเสียงและความร้อน
 
* [[การสื่อสารทางเสียงพูด]] ([[:en:speech communication]]) เป็นการศึกษาถึง การกำเนิด และ การวิเคราะห์ สัญญาณเสียงพูด รวมถึง การถ่ายทอดเสียงพูด การเก็บข้อมูลเสียงพูด การจดจำเสียงพูด และ การปรับแต่งเสียงพูด
 
* [[สวนศาสตร์ของการสั่น]] ([[:en:vibration acoustics]]) หรือเรียก เสียงและการสั่นของโครงสร้าง เป็นการศึกษาถึงปฏิกิริยาระหว่างเสียง และ การสั่นทางกลของโครงสร้าง เช่น การส่งผ่านการสั่นของเสียงบนกำแพง และ [[การแผ่ของเสียง]] ([[:en:radiation of sound]]) จากผนังส่วนต่างๆ ของรถยนต์
 
* [[สวนศาสตร์ทางดนตรีดุริยางคสวนศาสตร์]] ([[:en:musical acoustics]]) ศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพเชิงฟิสิกส์ของเครื่องดนตรี
 
* [[สวนศาสตร์ใต้น้ำ]] ([[:en:underwater acoustics]]) ศึกษาเกี่ยวกับการแผ่กระจายของเสียงในทะเล มีความเกี่ยวข้องกับการวิจัยพัฒนาเกี่ยวกับ[[โซนาร์]] ([[:en:sonar]])
 
* [[วิศวกรรมทางเสียงสวนศาสตร์]] ([[:en:acoustic engineering]]) ศึกษาเกี่ยวกับการกำเนิด และ การวัดเสียงโดยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น [[ลำโพง]] [[ไมโครโฟน]] [[ไฮโดรโฟน]] ([[:en:hydrophone]]) และ [[อุปกรณ์รับรู้]] ([[:en:sensor]]) ต่างๆ
 
คุณลักษณะของคลื่นเสียงนั้นกำหนดโดย ความเร็ว [[ ความยาวคลื่น]] และ ขนาด (แอมพลิจูด) [[ความเร็วของเสียง]]ขึ้นกับตัวกลาง และ[[อุณหภูมิ]] โดยไม่ขึ้นกับ[[ความกดดันอากาศ]] ความเร็วของเสียงในอากาศมีค่าประมาณ 340 เมตรต่อวินาที และ 1500 เมตรต่อวินาทีในน้ำ ความยาวคลื่นคือระยะทางระหว่างยอดคลื่นของลูกที่อยู่ติดกัน โดยความสัมพันธ์ระหว่าง ความยาวคลื่น <math>\, \lambda \, </math> ความเร็วของเสียง <math>\,c\,</math> และ ความถี่เสียง <math>\,f\,</math> คือ
:<math>
\lambda = \frac{c}{f}
บรรทัด 43:
== วิธีการวัดเสียง ==
วิธีการที่นิยมใช้ในการวัดเสียงทางวิทยาศาสตร์ นั้นมีสองแบบ คือ "วิธีการวัดโดยตรง" และ "วิธีการวัดแบบสัมพัทธ์"
* '''วิธีการวัดโดยตรง''' เป็นค่าระดับของเสียง ที่หาจากค่าที่วัดทางกายภาพฟิสิกส์โดยตรง เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ช่วงเวลา ฯลฯ วิธีการวัดในรายละเอียดดูได้จาก มาตรฐานสากลทางเสียง [[ISO3745]]
* '''วิธีการวัดแบบสัมพัทธ์''' เป็นการวัดค่าต่างๆ โดยเปรียบเทียบค่าที่ได้จากการวัด กับค่าของแหล่งกำเนิดเสียงอ้างอิง ที่มีระดับกำลังของเสียงตามที่กำหนดให้
 
บรรทัด 63:
|[[ระดับกำลังเสียง]] ([[:en:sound power level]]) (SWL)
|-
|[[ระยะเคลื่อนการขจัดของอนุภาค]] ([[:en:particle displacement]]) ''ξ''
|
|-
บรรทัด 72:
|
|-
|[[ความต้านทานทางอิมพีแดนซ์ของเสียง]] ([[:en:acoustic impedance]]) ''Z''
|
|-
บรรทัด 79:
|}
 
หมายเหตุ : ระดับความเร็วอนุภาค (particle velocity level) (SVL) นั้น เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ระดับความเร็วเสียง หรือ sound velocity level ซึ่งเป็นที่มาของตัวย่อ SVL
 
 
[[หมวดหมู่:สวนศาสตร์| ]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:เสียง]]