ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไมกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
 
[[ไฟล์:Nanta-aom.jpg|thumb|right|รูปแสดงกลุ่มแร่ไมกา(Muscovite)]][[ไฟล์:Nanta-aom1.jpg|thumb|right|รูปแสดงรอยแตกกลุ่มแร่ไมกา(Muscovite)]]
'''กลุ่มแร่ไมกา''' (Mica Group) ได้แก่ [[แร่ดิน]] (Clay mineral) และ[[แร่กลีบหิน]] (flaky minerals) ประกอบด้วย ปิรามิดฐานสามเหลี่ยมที่จับตัวกันเป็นแผ่นซิลิเกด(sheet silicste) โดยแต่ละปิรามิดมีการใช้ออกซิเจนร่วมกับปิรามิดอื่นสามตัว จึงเหลือออกซิเจนอีกตัวที่ยังไม่สมดุล จึงมีสูตรทั่วไปว่า(Si4O10)n-4 ในกรณีที่ง่ายที่สุดก็คือเอา Al+3 มาจับกับ[[ออกซิเจน]] จนเกิดเป็น[[แร่ดินขาว]](kaolinite)ในกรณีของแร่ไมกาตัวอื่น เช่น คลอไรด์หรือไบโอไทด์ นอกจาก Al แล้วยังมีไอออนตัวอื่นปรากฏ
และจับตัวเป็นแผ่นซิลิเกด แรงเกาะยึดก็มีลักษณะคล้ายพวกที่เป็นโซ่ คือแรงเกาะยึดระหว่างซิลิเกดกับออกซิเจนมากกว่าแรงจากออกซิเจนกับแคทไอออนตัวอื่น ด้วยเหตุนี้เองแร่ดินและแร่กลีบหินจึงมักแตกออกหรือปรากฏรอยแตกถี่ๆ ไปตามระนาบของแผ่นนั่นเองสำหรับกรณีกลุ่มแร่แผ่น(mica group) เช่น [[ไบโอไทต์]](biotite) แคทไอออน Al+3 สามารถเข้ามาแทนที่ Si+4
โดยแต่ละปิรามิดมีการใช้ออกซิเจนร่วมกับปิรามิดอื่นสามตัว จึงเหลือออกซิเจนอีกตัวที่ยังไม่สมดุล จึงมีสูตรทั่วไปว่า(Si4O10)n-4 ในกรณีที่ง่ายที่สุดก็คือเอา Al+3 มาจับกับออกซิเจน
ในปิรามิดโดยการแทนที่[[ไอออน]] และไม่ทำให้สมบัติการจัดต่อสายโซ่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก Al+3 มีขนาดประจุเล็กกว่า Si+4 เล็กน้อย จึงอาจจับกับปิรามิดที่มีประจุลบเกินค่าอยู่หนึ่งประจุก็พบการทำให้ประจุสมดุลไม่สามารถทำได้การจัดต่อเพียงอย่างเดียว ดังนั้นจึงต้องนำเอาแคทไอออนมาเพิ่มในโครงสร้างผลึก โดยทั่วไปประมาณหนึ่งในสี่ของปิรามิดในกลุ่มแร่ไมกา(หรือกลุ่มแร่แผ่น)ประกอบด้วย Al+3(แทนที่จะเป็น Si+4 ตามปกติ)ดังนั้นเพื่อให้ประจุสมดุล ต้องมีการเพิ่มประจุบวกของ K+1 หรือ Mg+2 หรือแม้แต่ Al+3 ด้วยกัน ภายนอกปิรามิด ตัวอย่างแร่ที่สำคัญคือ [[แร่กลีบหินขาว]](Muscovite-มัสโคไวต์ ซึ่งมีสูตร KAl2(Si3Al)O10(OH)2 แร่[[คลอไรต์]](Chlorite) นับได้ว่าเป็นแร่แผ่น ซึ่งโดยมากเป็นสีเขียว(คลอไรต์มาจากภาษากรีกซึ่งก็แปลว่าเขียว) มีปิรามิดจับต่อสายโซ่เป็นแผ่น ซึ่งประกอบด้วยประจุไม่สมดุล ดังนั้นจึงต้องต่อกันหรือเกาะกับไอออนประจุบวกของ Mg+2,Fe+2 และ Al+3 เพื่อให้ได้มากซึ่งสูตร(Mg,Fe,Al)6(Si,Al)4O10(OH)8 แร่กลีบหินเขียว(หรือแร่คลอไรด์)นี้มักเป็นแร่ที่เป็นผลมาจากการแปลงเปลี่ยน(alteration) มาจากแร่ตัวอื่นที่มี Fe และ Mg เป็นองค์ประกอบ(เช่น ไบโอไทด์ ฮอนเบลด์ หรือออไจด์)
จนเกิดเป็นแร่ดินขาว(kaolinite)ในกรณีของแร่ไมกาตัวอื่น เช่น คลอไรด์หรือไบโอไทด์ นอกจาก Al แล้วยังมีไอออนตัวอื่นปรากฏ
และจับตัวเป็นแผ่นซิลิเกด แรงเกาะยึดก็มีลักษณะคล้ายพวกที่เป็นโซ่ คือแรงเกาะยึดระหว่างซิลิเกดกับออกซิเจนมากกว่าแรงจากออกซิเจนกับแคทไอออนตัวอื่น
ด้วยเหตุนี้เองแร่ดินและแร่กลีบหินจึงมักแตกออกหรือปรากฏรอยแตกถี่ๆ ไปตามระนาบของแผ่นนั่นเอง
สำหรับกรณีกลุ่มแร่แผ่น(mica group) เช่น ไบโอไทต์(biotite) แคทไอออน Al+3 สามารถเข้ามาแทนที่ Si+4
ในปิรามิดโดยการแทนที่ไอออน และไม่ทำให้สมบัติการจัดต่อสายโซ่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก Al+3 มีขนาดประจุเล็กกว่า Si+4 เล็กน้อย
จึงอาจจับกับปิรามิดที่มีประจุลบเกินค่าอยู่หนึ่งประจุก็พบการทำให้ประจุสมดุลไม่สามารถทำได้การจัดต่อเพียงอย่างเดียว
ดังนั้นจึงต้องนำเอาแคทไอออนมาเพิ่มในโครงสร้างผลึก โดยทั่วไปประมาณหนึ่งในสี่ของปิรามิดในกลุ่มแร่ไมกา(หรือกลุ่มแร่แผ่น)ประกอบด้วย Al+3(แทนที่จะเป็น Si+4 ตามปกติ)
ดังนั้นเพื่อให้ประจุสมดุล ต้องมีการเพิ่มประจุบวกของ K+1 หรือ Mg+2 หรือแม้แต่ Al+3 ด้วยกัน ภายนอกปิรามิด ตัวอย่างแร่ที่สำคัญคือ แร่กลีบหินขาว(Muscovite-มัสโคไวต์
ซึ่งมีสูตร KAl2(Si3Al)O10(OH)2
แร่คลอไรต์(Chlorite) นับได้ว่าเป็นแร่แผ่น ซึ่งโดยมากเป็นสีเขียว(คลอไรต์มาจากภาษากรีกซึ่งก็แปลว่าเขียว) มีปิรามิดจับต่อสายโซ่เป็นแผ่น
ซึ่งประกอบด้วยประจุไม่สมดุล ดังนั้นจึงต้องต่อกันหรือเกาะกับไอออนประจุบวกของ Mg+2,Fe+2 และ Al+3 เพื่อให้ได้มากซึ่งสูตร(Mg,Fe,Al)6(Si,Al)4O10(OH)8
แร่กลีบหินเขียว(หรือแร่คลอไรด์)นี้มักเป็นแร่ที่เป็นผลมาจากการแปลงเปลี่ยน(alteration) มาจากแร่ตัวอื่นที่มี Fe และ Mg เป็นองค์ประกอบ(เช่น ไบโอไทด์ ฮอนเบลด์ หรือออไจด์)
 
== อ้างอิง ==
* [[ปัญญา จารุศิริ]], ธรณีวิทยากายภาพ 2545
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Mica}}
*[http://www.galleries.com/minerals/silicate/micas.htm Mineral Galleries data]{{en}}
*[http://www.mindat.org/min-6728.html Mindat]{{en}}
 
 
{{เรียงลำดับ|มไกา}}<!--ใช้ ม. เรียง-->
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไมกา"