ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชีววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TobeBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ab:Абиологиа
เปลี่ยนทางไปที่ ชีววิทยาแขวนจอดป้าย
บรรทัด 1:
#เปลี่ยนทาง [[ชีววิทยาแขวนจอดป้าย]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{multiple image
| align = right
| footer = '''ชีววิทยาเป็นการศึกษาสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ'''
| footer_align = center
| width = 90
| image1 = EscherichiaColi NIAID.jpg
| caption1 = '' E. coli ''
| image2 = Tree_Fern.jpg
| caption2 = เฟิร์น
| image3 = Goliath_beetle.jpg
| caption3 = ด้วงโกไลแอธ
| image4 = Thompson's_Gazelle.jpeg
| caption4 = กาเซลล์
}}
'''ชีววิทยา''' ({{lang-en|Biology}}) เป็นการศึกษาทาง[[วิทยาศาสตร์]]ที่เกี่ยวข้องกับ[[สิ่งมีชีวิต]]ในทุกๆแง่มุม (Biological Scinces) ชีววิทยา (Biology) มาจากภาษากรีก จากคำว่า " Bios "& "Logos" ซึ่งคำว่า "bios" แปลว่า สิ่งมีชีวิต และ "logos"แปลว่า การคิดและเหตุผลการศึกษา ชีววิทยาซึ่งถือเป็นการศึกษาหลักที่แยกย่อยไปเป็นวิชาทางชีวภาพอื่นๆมากมาย ไม่ชีววิทยาเป็นสาขาวิชาที่ใหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่างๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่นเซลล์ ยีน เป็นต้น กลุ่มที่สองศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่างๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย กลุ่มที่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่างๆในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่างๆนั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของดีเอ็นเอ ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ
 
การศึกษาสิ่งมีชีวิตในระดับ[[อะตอม]]และ[[โมเลกุล]] จัดอยู่ในสาขาวิชา[[อณูชีววิทยา]] [[ชีวเคมี]] และ[[อณูพันธุศาสตร์]] การศึกษาในระดับ[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] จัดอยู่ในสาขาวิชา[[เซลล์วิทยา]] และในระดับ[[เนื้อเยื่อ]] จัดอยู่ในสาขาวิชา[[สรีรวิทยา]] [[กายวิภาคศาสตร์]] และ[[มิญชวิทยา]] สาขาวิชา[[คัพภวิทยา]]เป็นการศึกษาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวอ่อนของสิ่งมีชีวิต
 
สาขาวิชา[[พันธุศาสตร์]]เป็นการศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทาง[[พันธุกรรม]]ของสิ่งมีชีวิตจากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง สาขาวิชา[[พฤติกรรมวิทยา]]เป็นการศึกษาพฤติกรรมของกลุ่มสิ่งมีชีวิต
สาขาวิชา[[พันธุศาสตร์ประชากร]]เป็นการศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับประชากรของสิ่งมีชีวิต การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งกับสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง และระหว่างสิ่งมีชีวิตกับถิ่นที่อยู่อาศัย จัดอยู่ในสาขาวิชา[[นิเวศวิทยา]]และ[[ชีววิทยาของวิวัฒนาการ]]
 
== ปรากฏการณ์ทางชีววิทยา ==
ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงจากทางธรรมชาติ เกิดจากการที่มีอะไรไม่แน่นอนบางอย่างเกิดขึ้นได้
 
== หลักของชีววิทยา ==
หลักที่นักชีววิทยาสมัยใหม่นั้นได้ยอมรับร่วมกันเป็นพื้นฐานได้แก่:
 
* หลัก[[ทฤษฎีเซลล์]] (Cell Theory). ซึ่งทฤษฎีนี้ระบุว่าสิ่งมีชีวิตทั้งหลายจะต้องประกอบไปเซลล์อย่างน้อยหนึ่งเซลล์ ซึ่งเซลล์ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สุดของการทำงานในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ กระบวนการทางกลศาสตร์และทางเคมีต่างก็ล้วนอาศัยเซลล์เป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการเช่นเดียวกัน ทั้งเชื่อว่าเซลล์สามารถเกิดจากเซลล์ต้นกำเนิด (perexisting cells) ได้เท่านั้น
 
* หลัก[[วิวัฒนาการ]] (Evolution). เชื่อในการเลือกสรรของธรรมชาติ (natural selection) และการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
* หลัก[[ทฤษฎีพันธุกรรม]] (Gene Theory). เชื่อว่าลักษณะทางพันธุกรรมนั้น ถูกเก็บเป็นรหัสสิ่งมีชีวิตใน DNA ในยีนอันเป็นมูลฐานแห่งการถ่ายทอดพันธุกรรม
 
* หลัก[[ภาวะธำรงดุล]] (Homeostasis). เป็นหลักที่เชื่อในการรักษาสมดุลของสิ่งมีชีวิต ในการปรับระบบภาวะแวดล้อมทั้งทางฟิสิกส์และเคมีของระบบภายในสิ่งมีชีวิตให้เข้ากับระบบภายนอกสิ่งมีชีวิต
 
=== ลักษณะร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ===
[[ไฟล์:DNA-structure-and-bases.JPG|thumb|180px|แผนภาพของดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นสารพันธุกรรมขั้นต้น]]
ตัวอย่างของลักษณะร่วมกันที่เด่นชัด คือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนมีองค์ประกอบจากสารชีวโมเลกุล และมีการถ่ายทอดลักษณะผ่านทาง[[สารพันธุกรรม]] ซึ่งเป็น[[กรดนิวคลีอิก]] เช่น [[ดีเอ็นเอ]] ทำหน้าที่เป็น[[รหัสพันธุกรรม]]
 
หลักของลักษณะร่วมกันอีกสิ่งหนึ่งคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิด (ยกเว้น[[ไวรัส]]) ประกอบขึ้นจากเซลล์ และยังมีกระบวนการเจริญเติบโตคล้ายคลึงกัน ตัวอย่างเช่น สิ่งมีชีวิตชั้นสูงส่วนใหญ่จะมี[[เอ็มบริโอ]]ที่มีลักษณะขั้นต้นคล้ายกัน และมี[[หน่วยพันธุกรรม|ยีน]]คล้ายกันอีกด้วย
 
=== วิวัฒนาการ ===
แนวคิดหลักของชีววิทยาคือ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีต้นกำเนิดร่วมกัน และมีการเปลี่ยนแปลงพัฒนาโดยกระบวนการที่เรียกว่า [[วิวัฒนาการ]]
 
=== ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ===
 
จอห์น แมคเคน กล่าวว่า พ่อผมบุกชิงควายในสนามรบ และเขาก็ทำได้สำเร็จ เพราะเขารู้ว่าควายมีรูปร่างอย่างไร
 
=== ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ===
[[ไฟล์:Common_clownfish.jpg|thumb|250px|การพึ่งพาอาศัยกับระหว่าง[[ปลาการ์ตูน]]และ[[ดอกไม้ทะเล]] ซึ่งปลาการ์ตูนอาศัยอยู่ท่ามกลางหนวดของดอกไม้ทะเล ปลาการ์ตูนช่วยปกป้องดอกไม้ทะเลจากปลาชนิดอื่นที่กินดอกไม้ทะเลเป็นอาหาร และหนวดที่มีพิษของดอกไม้ทะเลจะช่วยปกป้องปลาการ์ตูนจากนักล่า]]
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ และกับสิ่งแวดล้อม เหตุผลหนึ่งที่ทำให้การศึกษาระบบทางชีววิทยาทำได้ยากคือ ความสัมพันธ์ดังกล่าวมีมากมายหลายทางที่เป็นไปได้ แม้แต่ในการศึกษาระดับที่เล็กที่สุด เช่น [[แบคทีเรีย]]จะมีปฏิกิริยากับ[[น้ำตาล]]ที่อยู่โดยรอบ ซึ่งเป็นการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม เหมือนกับที่[[สิงโต]]มีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมขณะที่ออกหาอาหารใน[[ทุ่งหญ้าซาวันนา]] ส่วนพฤติกรรมที่มีต่อสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ อาจเป็นไปทั้งในลักษณะอาศัยอยู่ร่วมกัน คุกคามต่อกัน เป็น[[ปรสิต]] หรือพึ่งพาอาศัยกัน ความสัมพันธ์นี้จะซับซ้อนมากขึ้นหากมีสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด หรือมากกว่า มีความเกี่ยวข้องต่อกันใน[[ระบบนิเวศ]] การศึกษาความสัมพันธ์นี้จัดเป็นสาขาวิชา[[นิเวศวิทยา]]
 
== ขอบเขตของชีววิทยา ==
ชีววิทยาเป็นสาขาวิชาที่ใหญ่มากจนไม่อาจศึกษาเป็นสาขาเดียวได้ จึงต้องแยกออกเป็นสาขาย่อยต่างๆ ในหัวข้อนี้จะแบ่งสาขาย่อยออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่งเป็นสาขาที่ศึกษาโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อย่างเช่น[[เซลล์ (ชีววิทยา)|เซลล์]] [[หน่วยพันธุกรรม|ยีน]] เป็นต้น กลุ่มที่สองศึกษาการทำงานของโครงสร้างต่างๆ ตั้งแต่ระดับเนื้อเยื่อ ระดับอวัยวะ จนถึงระดับร่างกาย กลุ่มที่สามศึกษาประวัติศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต กลุ่มที่สี่ศึกษาความสัมพันธ์ในระหว่างสิ่งมีชีวิต อย่างไรก็ตาม การแบ่งกลุ่มนี้เป็นเพียงการจัดหมวดหมู่ให้สาขาต่างๆในชีววิทยาให้เป็นระเบียบและเข้าใจง่าย แต่ความจริงแล้ว ขอบเขตของสาขาต่างๆนั้นไม่แน่นอน และสาขาวิชาส่วนใหญ่ก็จำเป็นต้องใช้ความรู้จากสาขาอื่นด้วย ตัวอย่างเช่น สาขาชีววิทยาของวิวัฒนาการ ต้องใช้ความรู้จากสาขาอณูวิทยา เพื่อจัดลำดับของ[[ดีเอ็นเอ]] ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจความแปรผันทางพันธุกรรมของประชากร หรือสาขาวิชาสรีรวิทยา ต้องใช้ความรู้จากสาขาชีววิทยาของเซลล์ เพื่ออธิบายการทำงานของระบบอวัยวะ
 
=== โครงสร้างของชีวิต ===
[[ไฟล์:biological_cell.svg|thumb|300px|แผนภาพของเซลล์สัตว์ แสดงโครงสร้างและออร์แกเนลล์ต่างๆ]]
 
[[อณูชีววิทยา]]เป็นสาขาหนึ่งในชีววิทยา ซึ่งศึกษาในระดับ[[โมเลกุล]] สาขานี้มีความสอดคล้องกับสาขาอื่นๆในชีววิทยา โดยเฉพาะสาขา[[พันธุศาสตร์]]และ[[ชีวเคมี]] อณูชีววิทยาเป็นการศึกษาปฏิสัมพันธ์ของระบบต่างๆในเซลล์ ซึ่งได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ การสังเคราะห์โปรตีน และการควบคุมความสัมพันธ์เหล่านี้
 
[[ชีววิทยาของเซลล์]]เป็นสาขาที่ศึกษาลักษณะทางสรีรวิทยาของ[[เซลล์]] รวมไปถึงพฤติกรรม ปฏิสัมพันธ์ และสิ่งแวดล้อมของเซลล์ ทั้งระดับจุลภาคและระดับ[[โมเลกุล]] สาขาวิชานี้จะศึกษาวิจัยทั้งสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อย่างเช่น[[แบคทีเรีย]] และเซลล์ที่ทำหน้าที่พิเศษในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ อย่างเช่น[[มนุษย์]]
 
[[พันธุศาสตร์]]เป็นสาขาที่ศึกษายีน พันธุกรรม และการผันแปรของสิ่งมีชีวิต ในการศึกษาวิจัยสมัยใหม่ มีเครื่องมือที่สำคัญในการศึกษาหน้าที่ของยีน หรือความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม ในสิ่งมีชีวิต ข้อมูลทางพันธุกรรมจะอยู่ใน[[โครโมโซม]] ซึ่งข้อมูลจะแทนที่ด้วยโครงสร้างทางเคมีของโมเลกุลของ[[ดีเอ็นเอ]]
 
=== สรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิต ===
[[สรีรวิทยา]]เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการทางกายภาพและทางชีวเคมีในสิ่งมีชีวิต เพื่อให้เข้าใจหน้าที่ของโครงสร้างต่างๆ ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในการศึกษาทางชีววิทยา การศึกษาทางสรีรวิทยาสามารถแบ่งออกได้เป็น[[สรีรวิทยาของพืช]]และ[[สรีรวิทยาของสัตว์]] แต่หลักของสรีรวิทยาในสิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนแต่เหมือนกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษาสรีรวิทยาของเซลล์[[ยีสต์]]สามารถประยุกต์ใช้กับการศึกษาในเซลล์[[มนุษย์]]ได้ สรีรวิทยาของสัตว์เป็นการศึกษาทั้งในมนุษย์และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ สรีรวิทยาของพืชก็มีวิธีการศึกษาเช่นเดียวกับในสัตว์
 
[[กายวิภาคศาสตร์]]เป็นสาขาที่สำคัญในสรีรวิทยา ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และความสัมพันธ์ของระบบอวัยวะในสิ่งมีชีวิต เช่น [[ระบบประสาท]] [[ระบบภูมิคุ้มกัน]] [[ระบบต่อมไร้ท่อ]] [[ระบบหายใจ]] [[ระบบไหลเวียนโลหิต]] การศึกษาเกี่ยวกับระบบเหล่านี้สามารถแบ่งออกเป็นสาขาวิชาต่างๆได้อีก เช่น [[ประสาทวิทยา]] [[วิทยาภูมิคุ้มกัน]]
 
=== ความหลากหลายและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ===
การศึกษาวิวัฒนาการมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดและการสืบทอดลักษณะของสปีชี่ส์ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะที่ผ่านมา และต้องอาศัยนักวิทยาศาสตร์จากหลายสาขาที่เกี่ยวข้องกับ[[อนุกรมวิธาน]]ของสิ่งมีชีวิต สาขาวิวิฒนาการมีรากฐานจากสาขาบรรพชีวินวิทยา ซึ่งอาศัยซากดึกดำบรรพ์ในการตอบคำถามเกี่ยวกับรูปแบบและจังหวะของวิวิฒนาการ
 
สาขาวิชาหลักใหญ่ที่เกี่ยวกับอนุกรมวิธานมี 2 สาขา คือ [[พฤกษศาสตร์]] และ[[สัตววิทยา]] พฤกษศาสตร์เป็นสาขาที่ศึกษาเกี่ยวพืช มีเนื้อหาครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่การเจริญเติบโต การสืบพันธุ์ เมแทบอลิซึม โรค และวิวัฒนาการของพืช ส่วนสัตววิทยาจะศึกษาเกี่ยวกับสัตว์ รวมทั้งลักษณะทาง[[สรีรวิทยา]]ของสัตว์ซึ่งอยู่ในสาขา[[กายวิภาคศาสตร์]]และ[[คัพภวิทยา]] กลไกทางพันธุศาสตร์และการเจริญของพืชและสัตว์จะศึกษาในสาขา[[อณูชีววิทยา]] [[อณูพันธุศาสตร์]] และ[[ชีววิทยาของการเจริญ]]
 
=== ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต ===
[[ไฟล์:Foodweb.JPG|frame|[[สายใยอาหาร]] ประกอบขึ้นจากห่วงโซ่อาหารหลายห่วงโซ่ แสดงถึงความสัมพันธ์ที่สลับซับซ้อนของสิ่งมีชีวิตใน[[ระบบนิเวศ]]]]
สาขา[[นิเวศวิทยา]]จะศึกษาการกระจายและความหนาแน่นของสิ่งมีชีวิต รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมของสิ่งมีชีวิตจะหมายถึงถิ่นที่อยู่อาศัย ซึ่งจะรวมไปถึงปัจจัยทางกายภาพอย่างสภาพภูมิอากาศและลักษณะทางภูมิศาสตร์ รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นๆที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน การศึกษาระบบทางนิเวศวิทยามีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับสิ่งมีชีวิต ระดับประชากร ระดับระบบนิเวศ ไปจนถึงระดับโลกของสิ่งมีชีวิต จึงจะเห็นได้ว่า นิเวศวิทยาเป็นสาขาที่ครอบคลุมถึงสาขาอื่นๆอีกมากมาย
 
สาขา[[พฤติกรรมวิทยา]]จะศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ (โดยเฉพาะสัตว์สังคมอย่างสัตว์จำพวกลิงและสัตว์กินเนื้อ) บางครั้งอาจจัดเป็นสาขาหนึ่งใน[[สัตววิทยา]] นักพฤติกรรมวิทยาจะเน้นศึกษาที่วิวัฒนาการของพฤติกรรม และความเข้าใจในพฤติกรรม โดยตั้งอยู่บนทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
 
== ประวัติศาสตร์ของชีววิทยา ==
การค้นพบที่สำคัญทางด้านชีววิทยาได้แก่
* [[ทฤษฎีเซลล์]]
* [[ทฤษฎีการเกิดโรค]]
* [[พันธุศาสตร์]]
* [[วิวัฒนาการ]]
* [[ดีเอ็นเอ]]
 
== สาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง ==
* [[ชีวเคมี]](Biochemistry) เป็นการศึกษา ความเป็นไปในระดับชีวโมเลกุลของสิ่งมีชีวิต ทั้งองค์ประกอบทางชีวเคมีของเซลล์หรืออณุภาคต่างๆ (รวมไวรัส) โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลง ทั้งการสร้างและทำลายโมเลกุลเหล่านั้น (ทั้งสารโมเลกุลเล็ก และ โมเลกุลใหญ่ เป็น มหโมเลกุล (macromolecules) เช่น โปรตีน (Protein) (รวม เอ็นไซม์ / Enzyme) ดีเอ็นเอ (DNA) อาร์เอ็นเอ (RNA) การควบคุมการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุล การควบคุมการทำงานในระดับต่างๆ การสร้างพลังงานและการใช้พลังงาน อันเป็นปรากฏการณ์ของชีวิต
* [[อณูชีววิทยา]] (Molecular biology) หรือ ชีววิทยาโมเลกุล เป็นสาขาย่อย ที่แตกออกมาจากชีวเคมี เน้นศึกษาโครงสร้างและการทำงานของยีน (gene) ซึ่งเป็นรหัสพันธุกรรมบนสายดีเอ็นเอ หรือ อาร์เอ็นเอ ตลอดจนการควบคุมการทำงานของยีน ในระดับต่างๆ จนออกมาเป็น สาย อาร์เอ็นเอ และ เป็น โปรตีน
* [[พันธุศาสตร์]] (Genetics) ศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมในสิ่งมีชีวิต จากชั่วชีวิตหนึ่งไปอีกชั่วชีวิตหนึ่ง
* [[เซลล์พันธุศาสตร์]] (Cytogenetics) ศึกษาพันธุศาสตร์ในระดับเซลล์ รูปร่าง ลักษณะ และจำนวนของโครโมโซมในสิ่งมีชีวิต ตำแหน่งที่ตั้งของยีนบนโครโมโซม และการแบ่งเซลล์ในสิ่งมีชีวิต
* [[สัณฐานวิทยา (ชีววิทยา)|สัณฐานวิทยา]] (Morphology) ศึกษารูปพรรณสัณฐานของสิ่งมีชีวิต ไม่ว่าจุลชีพ สัตว์ หรือพืช เพื่อประกอบการระบุชนิด เช่น ลักษณะรูปร่างของดอกไม้ หรือ การจัดเรียงตัวของใบ
* [[อนุกรมวิธาน]] (Taxonomy) ศึกษาการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต ออกเป็นหมวดหมู่ ในทางวิวัฒนาการ (evolution) สมัยก่อนเน้นข้อมูลสัณฐานวิทยา ปัจจุบันใช้ข้อมูลระดับโมเลกุลมากขึ้น กลายเป็นวิชา Molecular Systematics
* [[คัพภวิทยา]] (Embryology) ศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนในสิ่งมีชีวิต การพัฒนา และ การเกิดอวัยวะต่างๆ ในช่วงเวลาการพัฒนาตัวอ่อน สามารถแยกได้เป็นคัพภวิทยาของพืช หรือคัพภวิทยาของสัตว์
* [[จุลชีววิทยา]] (Microbiology) ศึกษาสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็ก ส่วนมากมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ได้แก่ [[แบคทีเรีย]] [[เชื้อรา]] และ [[ยีสต์]] มักรวม [[ไวรัส]] ไว้ด้วย
* [[สัตววิทยา]] (Zoology) ศึกษาชีววิทยาของสัตว์ ตั้งแต่สัตว์ชั้นต่ำพวก [[ฟองน้ำ]] [[แมงกะพรุน]] [[พยาธิตัวแบน]] [[พยาธิตัวกลม]] กลุ่มหนอนปล้อง สัตว์ที่มีข้อปล้อง กลุ่มสัตว์พวกหอย ปลาดาว จนถึง [[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] และ [[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]
* [[ปักษีวิทยา]] (Ornithology) ศึกษานก
* [[มีนวิทยา]] (Ichthyology) ศึกษาปลา ลักษณะรูปร่างภายนอกของปลา ระบบต่างๆ ภายในตัวปลา การจัดจำแนกปลาออกเป็นกลุ่มหรือประเภทต่างๆ และเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับปลา
* [[สังขวิทยา]] (Malacology) ศึกษาหอย โดยเฉพาะหอยน้ำจืดที่เป็นเจ้าบ้านส่งผ่านของพยาธิ
* [[ปรสิตวิทยา]] (Parasitology) ศึกษาปรสิต ซึ่งดำรงชีพโดยเป็นตัวเบียฬของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น เช่น พยาธิตัวกลม พยาธิตัวแบน
* [[กีฏวิทยา]] (Entomology) ศึกษาแมลง การจัดจำแนก สรีรวิทยา สัณฐานวิทยา และนิเวศวิทยาของแมลง
* [[พฤกษศาสตร์]] (Botany) ศึกษาชีววิทยาของพืช การจัดจำแนกพืช การกระจายของพืชในส่วนต่างๆ ของโลก ตั้งแต่พวกพืชชั้นต่ำที่ไม่มีราก ลำต้น ใบที่แท้จริง ไปจนถึงพืชชั้นสูง อันได้แก่ พืชดอก
* [[กิณวิทยา]] (Mycology) ศึกษาชีววิทยาของเห็ด และ รา
* [[บรรพชีวินวิทยา]] (Paleontology) ศึกษาฟอสซิล (fossils)
* [[ชีวสารสนเทศศาสตร์]] (Bioinformatics) หรือ ชีววิทยาเชิงคำนวณ (computational biology) เป็นบูรณาการของสหวิชา ศึกษาโดยใช้ความรู้จาก [[อณูชีววิทยา]] [[ชีวเคมี]] [[คณิตศาสตร์ประยุกต์]], [[สถิติศาสตร์]], [[สารสนเทศศาสตร์]] และ[[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] เพื่อจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ สืบค้น ประมวลผลข้อมูลทางชีววิทยา เพื่อตอบปัญหาทางชีววิทยา หรือทำแบบจำลองเพื่อทำนายความเป็นไปได้ทางชีววิทยา ทำให้เกิดศาสตร์ใหม่ต่อๆมา เช่น [[จีโนมิกส์]] (Genomics) [[โปรตีโอมิส์]] (Proteomics) [[เมตะโบโลมิกส์]] (Metabolomics) ฯลฯ
* [[ชีววิทยาระบบ]] (Systems biology) เป็นศาสตร์ที่อาศัยความรู้ทางชีวสารสนเทศศาสตร์ คณิตศาสตร์ชั้นสูง วิทยาการคอมพิวเตอร์ และ ชีวเคมี เพื่อทำแบบจำลองของปราฏการณ์ภายในเซลล์ หรือในสิ่งมีชีวิต บนคอมพิวเตอร์ โดยอาศัยการคำนวณ จุดมุ่งหมายก็เพื่อทำนายปรากฏการณ์ของชีวิตในเรื่องต่างๆ อาทิ การตอบสนองของเซลล์ต่อยา หรือ ต่อสภาวะต่างๆ เป็นต้น ก่อนการทำการทดลองจริงในห้องปฏิบัติการ (wet lab)
* [[ประสาทวิทยาศาสตร์]] เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ [[โครงสร้าง]] หน้าที่ [[การเจริญเติบโต]] [[พันธุกรรมศาสตร์]] [[ชีวเคมี]] [[สรีรวิทยา]], [[เภสัชวิทยา]] และ [[พยาธิวิทยา]] ของ[[ระบบประสาท]] นอกจากนี้การศึกษาเกี่ยวกับ [[พฤติกรรม]] และ [[การเรียนรู้]] ยังถือว่าเป็นสาขาของประสาทวิทยาอีกด้วย
 
{{ชีววิทยา}}
{{วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ}}
 
[[หมวดหมู่:ชีววิทยา| ]]
[[หมวดหมู่:วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ]]
 
{{Link FA|es}}
{{Link FA|he}}
{{Link FA|ja}}
{{Link FA|vi}}
 
[[ab:Абиологиа]]
[[af:Biologie]]
[[als:Biologie]]
[[am:ሥነ ሕይወት]]
[[an:Biolochía]]
[[ar:علم الأحياء]]
[[arz:بيولوجيا]]
[[ast:Bioloxía]]
[[az:Biologiya]]
[[ba:Биология]]
[[bar:Biologie]]
[[bat-smg:Bioluogėjė]]
[[be:Біялогія]]
[[be-x-old:Біялёгія]]
[[bg:Биология]]
[[bn:জীববিজ্ঞান]]
[[br:Bevoniezh]]
[[bs:Biologija]]
[[bug:ᨅᨗᨕᨚᨒᨚᨁᨗ]]
[[ca:Biologia]]
[[ch:Bioloyia]]
[[co:Biologia]]
[[crh:Ayatiyat]]
[[cs:Biologie]]
[[csb:Biologijô]]
[[cv:Биологи]]
[[cy:Bioleg]]
[[da:Biologi]]
[[de:Biologie]]
[[diq:Biyolociye]]
[[dv:ދިރުމާބެހޭ އިލްމު]]
[[el:Βιολογία]]
[[en:Biology]]
[[eo:Biologio]]
[[es:Biología]]
[[et:Bioloogia]]
[[eu:Biologia]]
[[ext:Biologia]]
[[fa:زیست‌شناسی]]
[[fi:Biologia]]
[[fiu-vro:Bioloogia]]
[[fo:Lívfrøði]]
[[fr:Biologie]]
[[frp:Biologia]]
[[fur:Biologjie]]
[[fy:Biology]]
[[ga:Bitheolaíocht]]
[[gd:Bith-eòlas]]
[[gl:Bioloxía]]
[[gv:Bea-oaylleeaght]]
[[hak:Sâng-vu̍t-ho̍k]]
[[haw:Kālaimeaola]]
[[he:ביולוגיה]]
[[hi:जीव विज्ञान]]
[[hr:Biologija]]
[[hsb:Biologija]]
[[ht:Biyoloji]]
[[hu:Biológia]]
[[hy:Կենսաբանություն]]
[[ia:Biologia]]
[[id:Biologi]]
[[ie:Biologie]]
[[io:Biologio]]
[[is:Líffræði]]
[[it:Biologia]]
[[iu:ᐆᒪᔅᓱᓯᖃᕐᑐᓕᕆᓂᖅ/umasusirkartuliriniq]]
[[ja:生物学]]
[[jbo:mivyske]]
[[jv:Biologi]]
[[ka:ბიოლოგია]]
[[kaa:Biologiya]]
[[kk:Биология]]
[[kl:Uumassuseqartulerineq]]
[[kn:ಜೀವಶಾಸ್ತ್ರ]]
[[ko:생물학]]
[[ks:علم حیاتیات]]
[[kw:Bywonieth]]
[[ky:Биология]]
[[la:Biologia]]
[[lad:Biolojiya]]
[[lb:Biologie]]
[[li:Biologie]]
[[lmo:Biulugìa]]
[[lo:ຊີວະສາດ]]
[[lt:Biologija]]
[[lv:Bioloģija]]
[[map-bms:Biologi]]
[[mg:Biolojia]]
[[mhr:Биологий]]
[[mk:Биологија]]
[[ml:ജീവശാസ്ത്രം]]
[[mn:Биологи]]
[[ms:Biologi]]
[[mt:Bijoloġija]]
[[mwl:Biologie]]
[[my:ဇီဝဗေဒ]]
[[myv:Биологиясь-эриеньсодамось]]
[[nah:Yōlizmatiliztli]]
[[nap:Biologgia]]
[[nds:Biologie]]
[[nds-nl:Biologie]]
[[ne:जीवशास्त्र]]
[[new:जीवशास्त्र]]
[[nl:Biologie]]
[[nn:Biologi]]
[[no:Biologi]]
[[nov:Biologia]]
[[nrm:Biologie]]
[[oc:Biologia]]
[[os:Биологи]]
[[pam:Biologia]]
[[pih:Biiolojii]]
[[pl:Biologia]]
[[pnb:حیاتیات]]
[[ps:ژونپوهنه]]
[[pt:Biologia]]
[[qu:Kawsay yachay]]
[[ro:Biologie]]
[[roa-rup:Biologhia]]
[[ru:Биология]]
[[sa:जीवशास्त्रम्]]
[[sah:Биология]]
[[sc:Biologia]]
[[scn:Bioluggìa]]
[[sco:Biology]]
[[sh:Biologija]]
[[si:ජීවවේදය]]
[[simple:Biology]]
[[sk:Biológia]]
[[sl:Biologija]]
[[sm:Paiolo]]
[[so:Bayoloji]]
[[sq:Biologjia]]
[[sr:Биологија]]
[[ss:Ibhayoloji]]
[[stq:Biologie]]
[[su:Biologi]]
[[sv:Biologi]]
[[sw:Biolojia]]
[[ta:உயிரியல்]]
[[te:జీవ శాస్త్రము]]
[[tg:Биология]]
[[ti:ባዮሎጂ]]
[[tl:Biyolohiya]]
[[tr:Biyoloji]]
[[tt:Biologí]]
[[ug:بىئولوگىيە]]
[[uk:Біологія]]
[[ur:حیاتیات]]
[[uz:Biologiya]]
[[vec:Biołogia]]
[[vi:Sinh học]]
[[vls:Biologie]]
[[vo:Lifav]]
[[war:Biyolohiya]]
[[xal:Биолог]]
[[xh:IBayoloji]]
[[yi:ביאלאגיע]]
[[zea:Biologie]]
[[zh:生物学]]
[[zh-classical:生物學]]
[[zh-min-nan:Seng-bu̍t-ha̍k]]
[[zh-yue:生物學]]