ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชั่วโมงแรงงาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ชั่วโมงแรงงาน''' ({{lang-en|Man-day}}) หมายถึงปริมาณของงานที่แรงงานโดยทั่วไปสามารถทำได้ภายในหนึ่งชั่วโมง หน่วยดังกล่าวเป็นการประมาณค่าจำนวนของคนงานซึ่งไม่ถูกรบกวนจะต้องใช้ในการกระทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้เสร็จลุล่วง ยกตัวอย่างเช่น การวิจัยและการเขียนเอกสารวิทยาลัยอาจต้องใช้ 20 ชั่วโมงแรงงาน การเตรียมงานเลี้ยงของครอบครัวอาจใช้ 10 ชั่วโมงแรงงาน
แมนเดย์ (อังกฤษ : Man-day) หมายถึงต้นทุนแรงงานต่อการทำงานหนึ่งวัน ค่าแรงต่อวัน หรือค่าจ้างต่อวัน ซึ่งสามารถคิดค่าแรงแบบนี้ให้เป็นหน่วยย่อยมากขึ้นได้เป็นรายชั่วโมง หรือแมนเอาเออะ (อังกฤษ : Man-hour)
 
ชั่วโมงแรงงานไม่รวมไปถึงเวลาพักที่คนงานจะต้องใช้จากการทำงาน เช่น เพื่อพักผ่อน รับประทานอาหาร หรือเพื่อทำธุระส่วนตัวอื่น ๆ หากแต่นับเฉพาะเวลาที่ใช้ในการทำงานเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ผู้จัดการนับชั่วโมงแรงงานและเพิ่มเวลาพักเพื่อประมาณค่าเวลาที่ใช้เพื่อทำงานให้เสร็จลุล่วง รวมไปถึง ในขณะที่การเขียนเอกสารคอร์สของวิทยาลัยอาจต้องใช้ 20 ชั่วโมงแรงงาน แต่ก็เกือบจะแน่นอนว่างานดังกล่าวจะไม่เสร็จภายในเวลา 20 ชั่วโมงติดต่อกัน เนื่องจากความคืบหน้าของงานจะถูกขัดขวางด้วยงานอื่น มื้ออาหาร การนอนหลับ และการพักผ่อน
การทำงานเพื่อผู้ว่าจ้างรายใดรายหนึ่ง ต้องใช้แรงงาน เวลา ความชำนาญ และองค์ความรู้ในการทำ ดังนั้นจะมี ค่าตอบแทน ค่าจ้าง หรือค่าแรง ซึ่งวิธีคิดทางธุรกิจเรื่องต้นทุนแรงงานต่อการทำงาน มีสองแบบคือ แบบ ค่าแรงรายวัน (อังกฤษ : Man-day) และการจ้างเหมา ต่องานหนึ่งชิ้นโดยอาจจะระบุเวลาเสร็จสิ้นงานที่แน่นอนหรือไม่ก็ได้
 
โดยปกติ หนึ่งแมนเดย์ จะเท่ากับ 6-8 ชั่วโมงแล้วแต่การตกลง ซึ่งการคำนวณแมนเดย์จะขึ้นอยู่กับ
* ชื่อเสียงจากผลงานที่ผ่านมา ประสบการณ์ หรือความชำนาญ ที่ได้รับการยอมรับในวงกว้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล
* ค่าแรงมาตราฐาน หรือราคาตลาด คือค่าจ้างโดยประมาณซึ่งถูกกำหนดโดยคร่าวๆ ขึ้นอยู่กับผู้รับจ้างว่าได้อ้างอิงถึง ผลงานที่ผ่านมา ราคาที่หน่วยงานหรือสมาคมนั้นๆ กำกับดูแลอยู่
* ความยากง่ายของเนื้องาน
* ระยะเวลาในการดำเนินงาน
* ราคาที่ผู้ว่าจ้างประมาณการไว้
----
[[หมวดหมู่:การสื่อสารเชิงเทคนิค]]
 
[[en:Man-hour]]