ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจำลอง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Christer Fuglesang underwater EVA simulation for STS-116.jpg|thumb|การจำลองการเคลื่อนตัวของนักบินอวกาศในอวกาศโดยทดสอบในน้ำแทนที่]]
[[ไฟล์:Underwater EVA simulation for STS-116.jpg|thumb|]]
 
'''ซีมิวเลชัน''' ({{lang-en|simulation}}) เป็นการจำลองของสิ่งที่มีอยู่จริง เหตุการณ์ในอดีต หรือขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อชี้ชัดลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งออกมาให้ชัดเจน บางครั้งจะมีการสร้างแบบจำลองอย่างง่ายขึ้น เพื่อให้จุดเด่นจุดใดจุดหนึ่งชี้ชัดออกมา
 
== คอมพิวเตอร์ซีมิวเลชัน ==
 
คอมพิวเตอร์ซีมิวเลชัน หรือ "ซิม" เป็นการสร้าง[[แบบจำลอง]]ของวัตถุจริง หรือเหตุการณ์นามธรรมตามสมมุติฐาน ด้วย[[คอมพิวเตอร์]]เพื่อใช้ในการศึกษาว่าระบบทำงานได้อย่างไร โดยในระหว่างการจำลองจะมีการปรับเปลี่ยน[[ตัวแปร]] เปลี่ยนค่าเฉพาะ เพื่อศึกษาพฤติกรรมในรูปแบบที่ต่างกัน<ref name="definition">http://www.modelbenders.com/encyclopedia/encyclopedia.html</ref>
 
คอมพิวเตอร์ซิมิวเลชันกลายมาเป็นหัวสำคัญส่วนหนึ่งของการสร้าง[[แบบจำลองแนวคิด]] ในการสร้างแบบจำลองทั้งหลายด้าน ไม่ว่า [[ฟิสิกส์]] [[เคมี]] [[ชีวะ]] [[มนุษยศาสตร์]] [[เศรษฐศาสตร์]] [[สังคมศาสตร์]] และ[[วิศวกรรมศาสตร์]] เพื่อ[[การเรียนรู้]]และ[[การวิจัย]]
 
โดยก่อนหน้าที่คอมพิวเตอร์ได้รับการนิยม แบบจำลองส่วนใหญ่ถูกเขียนในรูปของ[[แบบจำลองทางคณิตศาสตร์]]เพื่อหาคำตอบในเชิงคุณภาพ คอมพิวเตอร์ซีมิวเลชันได้ถูกนิยมนำมาใช้แทนทั้งหมด หรือนำมาใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดในการแก้ปัญหาแบบจำลองต่างๆ ตัวอย่างแบบจำลองเหล่านั้นเช่น [[มอนตีคาร์โลซิมิวเลชัน]] หรือ [[แบบจำลองสโตแคสติก]]
 
คำว่า "คอมพิวเตอร์ซีมิวเลชัน" ยังคงถูกใช้กับ[[วิดีโอเกม]]ที่จำลองการเล่นจากเหตุการณ์จริง
 
== ดูเพิ่ม ==
เส้น 7 ⟶ 17:
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* D. Saunders (Ed.). (2000). The International Simulation and Gaming Research Yearbook, volume 8. London: Kogan Page Limited.
 
[[หมวดหมู่:แบบจำลอง]]