ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟลด์สปาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Doronenko (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Azoma (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มกล่อ
บรรทัด 1:
{{Infobox mineral
[[ไฟล์:2010 - Feldspar.jpg|thumb|right|แก้ไข เฟลด์สปาร์]]
| name = เฟลด์สปาร์
| category = [[แร่]]
| boxwidth =
| boxbgcolor =
| image = 2010 - Feldspar.jpg
| imagesize =
| caption =
| formula = [[Potassium|K]][[Aluminium|Al]][[silicon|Si]]<sub>3</sub>[[Oxygen|O]]<sub>8</sub> - [[Sodium|Na]]AlSi<sub>3</sub>O<sub>8</sub> - [[Calcium|Ca]]Al<sub>2</sub>Si<sub>2</sub>O<sub>8</sub>
| molweight =
| color = ชมพู ขาว เทา น้ำตาล
| habit =
| system =
| twinning =
| cleavage = 2 หรือ 3
| fracture =
| tenacity =
| mohs = 6.0
| luster = เงาเหมือนแก้ว
| polish =
| refractive =
| opticalprop =
| birefringence =
| dispersion =
| pleochroism =
| fluorescence=
| absorption =
| streak =
| gravity =
| density =
| melt =
| fusibility =
| diagnostic =
| solubility =
| diaphaneity =
| other =
| references =
}}
 
 
'''แร่เฟลด์สปาร์''' หรือแร่ฟันม้าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเนื้อ[[เซรามิกส์]] (15.35 %) และในน้ำยาเคลือบผิว(Glaze30-50%)เฟลด์สปาร์เป็นแร่ที่มีปริมาณธาตุ[[อัลคาไลด์]]สูง ทำให้หลอมตัวที่อุณหภูมิต่ำจึงทำหน้าที่เป็น Flux ทำให้เกิดเนื้อแก้วยึดเหนี่ยวเนื้อ ทำให้เกิดความแกร่งและความโปร่งใสของชิ้นงาน นอกจากนี้ ยังหาได้ง่ายในธรรมชาติ มีธาตุ[[เหล็ก]]ต่ำ จึงเป็นที่นิยมใช้
เส้น 10 ⟶ 48:
 
== แหล่งแร่เฟลด์สปาร์ ==
แร่เฟลด์สปาร์ พบอยู่ใน[[หินอัคนี]]เกือบทุกชนิด และพบใน[[หินชั้น]]และ[[หินแปร]]ด้วย แต่แหล่งแร่เฟลด์สปาร์ที่เป็นอุตสาหกรรมนั้น ได้มาจากสายแร่[[เปกมาไทต์เพกมาไทต์]] (Pegmatite)หรือสายคา ซึ่งจะมีแร่เฟลด์สปาร์เกิดร่วมกับ[[ควอร์ตซ์ควอตซ์]] [[ไมก้าไมกา]] [[การ์เนต]] [[ทัวมาลีนทัวร์มาลีน]] เป็นต้น สายแร่เปกมาไทต์ ที่ตัดเข้าไปใน[[หินแกรนิต]] มักให้แร่เฟลด์สปาร์พวกโซเดียมและโปแตซเซียม ซึ่งปริมาณของทั้งสองตัวนี้ก็แตกต่างกันไม่แน่นอน บางแหล่งจะมีโปแตซเซียมเฟลด์สปาร์มาก บางแหล่งก็มีโซเดียมเฟลด์สปาร์มาก เฟลด์สปาร์ที่ซื้อขายกันในประเทศสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
 
#โปแตชเซียม เฟลด์สปาร์ มีปริมาณ K2O อยู่ไม่น้อยกว่า 8 %
เส้น 20 ⟶ 58:
 
== การทำเหมือง ==
การทำเหมืองแร่เฟลด์สปาร์ จากสายแร่เปกมาไทต์[[เพกมาไทต์]] ที่ จ.[[จังหวัดตาก]], [[ราชบุรี]], [[กาญจนบุรี]] และ [[นครศรีธรรมราช]] การทำเหมืองมักจะเป็น[[เหมืองเปิด]] โดยการระเบิดย่อยให้ได้ขนาดเล็กลงด้วยค้อน แล้วใช้วิธีคัดด้วยมือ เพื่อแยกเฟลด์สปาร์ออกจากแร่ควอร์ตควอตซ์, ไมก้า[[ไมกา]] และสาร[[เหล็กออกไซด์]] วิธีการทำเหมืองแบบนี้ ต้นทุนจะต่ำแต่การสูญเสียแร่ค่อนข้างสูงสำหรับการทำเหมืองแร่[[โซเดียมเซียเฟลด์สปาร์ ]]
วิธีการทำเหมืองดังกล่าวนับว่าใช้ได้ เพราะโซเดียมเซียมเฟลด์สปาร์โดยทั่วไปมักเกิดเป็นก้อนใหญ่ที่ค่อนข้างบริสุทธิ์ ไม่มีแร่อื่นปนมากนักสำหรับการทำเหมืองแร่โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์ น่าจะใช้วิธี
การลอยแร่ ควบคู่กันไปด้วย เพื่อเก็บแร่ให้หมด โดยแยกเฟลด์สปาร์ออกจากแร่อื่น ทำให้คุณภาพสูงขึ้น และคุ้มทุน เพราะราคาสูง ปัจจุบันมีการลอยแร่โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์
ที่ [[เหมืองตะโกปิดทอง]] อ.[[อำเภอสวนผึ้ง]] จ.[[จังหวัดราชบุรี]] และที่ จ.[[จังหวัดตาก]]
 
-Bone Ash เป็น Flux ที่สำคัญสำหรับ Bone Chinaได้จากการนำกระดูกวัวควายมาทำ Calcining แล้วบด ถ้าขบวนการ Calcining ถูกต้องจะได้พวกอินทรียวัตถุที่แขวนลอยอยู่เพียงเล็กน้อย ซึ่งจะเพิ่มคุณสมบัติของการใช้งาน องค์ประกอบหลักคือ แคลเซียมฟอสเฟต3CaO.P2O5
เส้น 42 ⟶ 81:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Feldspar}}
 
{{เรียงลำดับ|ฟเลด์สปาร์}}