ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แก๊สชีวภาพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Gigo~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้นฉบับ}}
'''ก๊าซชีวภาพ''' ({{lang-en|'''Biogas''' หรือ '''digester gas'''}}) หรือ ไบโอแก๊สก๊าซ คือ แก๊สก๊าซที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ จากการหมักย่อยสลายของ[[สารอินทรีย์]]ภายใต้สภาวะที่ปราศจากออกซิเจน(anaerobic digestion) โดยทั่วไปจะหมายถึง ก๊าซ [[มีเทน]] ที่เกิดจาก [[การหมัก]] (fermentation) ของ [[สารอินทรีย์วัตถุ]] ประกอบด้วย [[ปุ๋ยคอก]] โคลนจาก[[น้ำเสีย]] โดยกระบวนการนี้สามารถเกิดขึ้นได้ในหลุมขยะประเภทของแข็งจากเมือง หรือ ของเสียชีวภาพจากอาหารกองมูลสัตว์ภายใต้สภาวะ [[ไม่มีออกซิเจน]] (anaerobic)องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH4) ประมาณ ๕๐-๗๐% และก้นบ่อแหล่งน้ำนิ่ง แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)ประมาณ ๓๐-๕๐% ส่วนกล่าวคือเมื่อไหร่ก็ตามที่เหลือมีสารอินทรีย์หมักหมมกันเป็นแก๊สชนิดอื่นเวลานานก็อาจเกิดก๊าซชีวภาพ แต่นี่เป็นเพียงแค่หลักการทางทฤษฏี เช่น ไฮโดเจน(H2) ออกซิเจน(O2) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H2S) ไนโตรเจน(N2) และไอน้ำ
 
 
องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแก๊สมีเทน(CH<sub>4</sub>) ประมาณ 50-70% และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์(CO<sub>2</sub>)ประมาณ 30-40% ส่วนที่เหลือเป็นแก๊สชนิดอื่น ๆ เช่น ไฮโดเจน(H<sub>2</sub>) ออกซิเจน(O<sub>2</sub>) ไฮโดรเจนซัลไฟด์(H<sub>2</sub>S) ไนโตรเจน(N<sub></sub>) และไอน้ำ
 
ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ '''ก๊าซหนองน้ำ''' และ '''มาร์ซก๊าซมาร์ชก๊าซ''' (marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน [[ของเสีย]] ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็น[[กระแสไฟฟ้า]] นอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย [[เชื้อโรค]] ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น [[การบริหารจัดการของเสีย]] ที่ควรได้รับการสนับสนุนเพราะมันไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] ในชั้นบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ [[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]](greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ของ '''ก๊าซชีวภาพ''' ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมีก๊าซมีเทนเป็นส่วนประกอบหลักจะสะอาดกว่า
 
ก๊าซชีวภาพมีชื่ออื่นอีกคือ '''ก๊าซหนองน้ำ''' และ '''มาร์ซก๊าซ''' (marsh gas) ขึ้นกับแหล่งที่มันเกิด กระบวนการนี้เป็นที่นิยมในการเปลี่ยน [[ของเสีย]] ประเภทอินทรีย์ทั้งหลายไปเป็น[[กระแสไฟฟ้า]] นอกจากกำจัดขยะได้แล้วยังทำลาย [[เชื้อโรค]] ได้ด้วย การใช้ก๊าซชีวภาพเป็น [[การบริหารจัดการของเสีย]] ที่ควรได้รับการสนับสนุนเพราะมันไม่เป็นการเพิ่มก๊าซ [[คาร์บอนไดออกไซด์]] ในบรรยากาศที่เป็นต้นเหตุของ [[ปรากฏการณ์เรือนกระจก]](greenhouse effect) ส่วนการเผาไหม้ของ '''ก๊าซชีวภาพ''' ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทนจะสะอาดกว่า
 
== กระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์ในสภาวะปราศจากออกซิเจน(Anaerobic digestion) ==